สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดนครสวรรค์ | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 6 |
คะแนนเสียง | 148,535 (ภูมิใจไทย) 135,332 (เพื่อไทย) 115,480 (ก้าวไกล) 69,305 (รวมไทยสร้างชาติ) 24,089 (ชาติพัฒนากล้า) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ภูมิใจไทย (2) เพื่อไทย (1) ประชาชน (1) รวมไทยสร้างชาติ (1) ชาติพัฒนากล้า (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครสวรรค์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสวัสดิ์ ยูวะเวส[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 12 สมัย ได้แก่ นายสวัสดิ์ คำประกอบ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดนครสวรรค์ คือ นางสุนีรัตน์ เตลาน (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2495)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ คำประกอบ (4 คน) ได้แก่ นายสวัสดิ์ คำประกอบ นายประเทือง คำประกอบ นายวีระกร คำประกอบ และนายดิสทัต คำประกอบ
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอปากน้ำโพ, อำเภอโกรกพระ, อำเภอลาดยาว และอำเภอบรรพตพิสัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชุมแสง, อำเภอท่าตะโก, อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอตาคลี |
2 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | 4 คน (เขตละ 4 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 5 คน (เขตละ 5 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอโกรกพระ, อำเภอลาดยาว, อำเภอบรรพตพิสัย และอำเภอเก้าเลี้ยว · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชุมแสง, อำเภอหนองบัว, อำเภอท่าตะโก, อำเภอไพศาลี, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอตาคลี และอำเภอตากฟ้า |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว และอำเภอโกรกพระ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี |
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว, อำเภอโกรกพระ และกิ่งอำเภอแม่วงก์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี |
||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว, อำเภอโกรกพระ, กิ่งอำเภอแม่วงก์ และกิ่งอำเภอแม่เปิน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี |
||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลปากน้ำโพ ตำบลนครสวรรค์ตก ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลวัดไทร ตำบลบึงเสนาท ตำบลบางม่วง ตำบลหนองกรด และตำบลหนองกระโดน] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลบางพระหลวงและตำบลบ้านมะเกลือ), อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลกลางแดด ตำบลหนองปลิง ตำบลพระนอน ตำบลแควใหญ่ และตำบลเกรียงไกร], อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอโกรกพระ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลบ้านแก่ง), อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว และอำเภอลาดยาว (เฉพาะตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลหนองนมวัว และตำบลบ้านไร่) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอไพศาลี, อำเภอหนองบัว และอำเภอตากฟ้า (เฉพาะตำบลลำพยนต์ ตำบลสุขสำราญ และตำบลพุนกยูง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอตาคลีและอำเภอตากฟ้า (ยกเว้นตำบลลำพยนต์ ตำบลสุขสำราญ และตำบลพุนกยูง) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่วงก์, อำเภอลาดยาว (ยกเว้นตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลหนองนมวัว และตำบลบ้านไร่), กิ่งอำเภอชุมตาบง และกิ่งอำเภอแม่เปิน |
7 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอท่าตะโก, อำเภอโกรกพระ และอำเภอชุมแสง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอลาดยาว, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี |
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลปากน้ำโพ ตำบลนครสวรรค์ตก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลวัดไทร ตำบลแควใหญ่ (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลบ้านแก่ง ตำบลบ้านมะเกลือ ตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน ตำบลบางม่วง และตำบลบึงเสนาท] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลนครสวรรค์ตก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลแควใหญ่ (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลบางพระหลวง ตำบลเกรียงไกร ตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง และตำบลกลางแดด], อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอโกรกพระ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอชุมแสง และอำเภอเก้าเลี้ยว · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอไพศาลี, อำเภอหนองบัว และอำเภอท่าตะโก (เฉพาะตำบลทำนบ ตำบลดอนคา ตำบลพนมรอก ตำบลพนมเศษ ตำบลสายลำโพง และตำบลวังใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตาคลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอท่าตะโก (เฉพาะตำบลหนองหลวง ตำบลหัวถนน ตำบลวังมหากร และตำบลท่าตะโก) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลาดยาว, อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเก้าเลี้ยว (เฉพาะตำบลมหาโพธิ), อำเภอลาดยาว (เฉพาะตำบลหนองยาว) และอำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน ตำบลบ้านแก่ง ตำบลวัดไทร ตำบลบางม่วง ตำบลบ้านมะเกลือ ตำบลบึงเสนาท ตำบลปากน้ำโพ ตำบลแควใหญ่ (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) และตำบลนครสวรรค์ตก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์)] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอโกรกพระ, อำเภอชุมแสง (เฉพาะตำบลทับกฤชใต้) และอำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลบางพระหลวง ตำบลเกรียงไกร ตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง ตำบลกลางแดด ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลนครสวรรค์ตก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) และตำบลแควใหญ่ (นอกเขตเทศบาลนครนครสวรรค์)] · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว (ยกเว้นตำบลมหาโพธิ) และอำเภอชุมแสง (ยกเว้นตำบลทับกฤชใต้) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอหนองบัว, อำเภอท่าตะโก และอำเภอไพศาลี (ยกเว้นตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตาคลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอไพศาลี (เฉพาะตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน, อำเภอชุมตาบง และอำเภอลาดยาว (ยกเว้นตำบลหนองยาว) |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครสวรรค์ (ยกเว้นตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง ตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน และตำบลบ้านแก่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกรกพระ, อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลพระนอน ตำบลหนองปลิง ตำบลหนองกรด ตำบลหนองกระโดน และตำบลบ้านแก่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว และอำเภอชุมแสง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอหนองบัว, อำเภอท่าตะโก และอำเภอไพศาลี (ยกเว้นตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตาคลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอไพศาลี (เฉพาะตำบลโพธิ์ประสาท ตำบลสำโรงชัย และตำบลตะคร้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลาดยาว, อำเภอแม่วงก์, อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง |
6 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476
แก้ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3] |
นายสวัสดิ์ ยูวะเวส |
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489
แก้เขต | ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 | ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 | ชุดที่ 4 | |
มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
1 | นายอรุณ แสงสว่างวัฒนะ | พันตรี หลวงขจรกลางสนาม (ขจร มังกรสุต) | นายเกษม บุญศรี | นายสวัสดิ์ คำประกอบ |
2 | ขุนอนุกูรประชากร (วงษ์ พยัคฆวิเชียร) | ขุนอนุกูรประชากร (วงษ์ พยัคฆวิเชียร) (เสียชีวิต) นายใหญ่ ศวิตชาติ (แทนขุนอนุกูรประชากร) |
นายใหญ่ ศวิตชาติ | – |
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายเกษม บุญศรี |
นายใหญ่ ศวิตชาติ | ||
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
แก้ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | นายสวัสดิ์ คำประกอบ |
2 | นางสุนีรัตน์ เตลาน |
3 | ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์) |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
แก้- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคประชาธิปัตย์
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
แก้- พรรคสหประชาไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายสวัสดิ์ คำประกอบ |
2 | นายใหญ่ ศวิตชาติ |
3 | ร้อยตำรวจเอก วิชัย ฉายประเสริฐ |
4 | นายประเทือง คำประกอบ |
5 | นายพิชัย มากคุณ |
ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522
แก้ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539
แก้- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529) → พรรคเอกภาพ
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคเอกภาพ
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคพลังธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21[4] พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22[5] พ.ศ. 2548 |
1 | นายภิญโญ นิโรจน์ | นายสมชัย เจริญชัยฤทธิ์ |
2 | นายเกษม ปานอุดมลักษณ์ | นายเกษม ปานอุดมลักษณ์ |
3 | นายสมควร โอบอ้อม | นายวีระกร คำประกอบ |
4 | นายสัญชัย วงษ์สุนทร | |
5 | นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์ | |
6 | พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ | |
7 | นายนิโรธ สุนทรเลขา | นายนิโรธ สุนทรเลขา |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคประชาราช
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคเพื่อไทย
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย → พรรคภูมิใจไทย
เขต | ชุดที่ 23[6] พ.ศ. 2550 |
1 | นายสมควร โอบอ้อม |
นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร | |
นายสมชัย เจริญชัยฤทธิ์ | |
2 | นายนิโรธ สุนทรเลขา |
นายสัญชัย วงษ์สุนทร | |
3 | นายพีระเดช ศิริวันสาณฑ์ |
พันตำรวจโท นุกูล แสงศิริ |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
แก้- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน → พรรคชาติพัฒนา
- พรรคพลังประชารัฐ
- พรรคภูมิใจไทย
- พรรคก้าวไกล → พรรคประชาชน
- พรรครวมไทยสร้างชาติ
- พรรคชาติพัฒนากล้า → พรรคชาติพัฒนา
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร | นายภิญโญ นิโรจน์ | นายกฤษฐ์หิรัญ เลิศอุฤทธิ์ภักดี |
2 | นายดิสทัต คำประกอบ | นายวีระกร คำประกอบ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายทรงศักดิ์ ส่งเสริมอุดมชัย |
3 | นายสัญชัย วงษ์สุนทร | นายสัญญา นิลสุพรรณ | นายสัญญา นิลสุพรรณ |
4 | พันตำรวจโท นุกูล แสงศิริ | นายมานพ ศรีผึ้ง | |
5 | นายทายาท เกียรติชูศักดิ์ | นายพีระเดช ศิริวันสาณฑ์ | |
6 | นายประสาท ตันประเสริฐ | นายนิโรธ สุนทรเลขา | นายประสาท ตันประเสริฐ |
รูปภาพ
แก้-
นายใหญ่ ศวิตชาติ
-
นายเกษม บุญศรี
-
นายสวัสดิ์ คำประกอบ
-
นายประเทือง คำประกอบ
-
นายวีระกร คำประกอบ
-
นายประสาท ตันประเสริฐ
-
นายบุญชู โรจนเสถียร
-
นายนิโรธ สุนทรเลขา
-
นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร
-
นายพีระเดช ศิริวันสาณฑ์
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดนครสวรรค์ เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน