จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน570,310
ผู้ใช้สิทธิ54.36%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค กิจประชาคม สหประชาธิปไตย ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 เพิ่มขึ้น3 ลดลง1

  Fourth party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 6
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง6

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว และ อำเภอโกรกพระ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจประชาคม ธเนศ เตลาน (6)✔ 57,917
กิจประชาคม ประสาท ตันประเสริฐ (5) 50,559
สหประชาธิปไตย ประสิทธิ์ พิทูรกิจจา (30)* 48,723
กิจประชาคม ดิเรก สกุณาธวงศ์ (4)* 43,448
สหประชาธิปไตย อรสา ขำภโต (29) 39,750
สหประชาธิปไตย วีระกร คำประกอบ (28)* 36,940
ประชาธิปัตย์ บุญพรรณ สุทธิวิริวรรณ (1) 9,801
ประชาธิปัตย์ เสรี มูลมณี (2) 9,557
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิมลศรี เชาว์ปรีชา (8) 7,521
ประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ อ่างทอง (3) 5,735
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บังอร โพธิ์จันทร์ (18) 3,847
แรงงานประชาธิปไตย ร้อยโท เวียงศักดิ์ เพ็ชรจำปาศักดิ์ (19) 3,588
แรงงานประชาธิปไตย ประดลเดช แก้วมณี (20) 2,076
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สิงห์ชัย สุขแสงดาว (27) 1,964
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ธรรมรัฐ เนียมณรงค์ (7) 1,762
ประชากรไทย ประสงค์ โค้วประสิทธิ์ (24) 1,738
ประชากรไทย ณัฐกิจ วัฒนาอุดม (22) 1,707
ประชากรไทย สมบูรณ์ อินเฉลิม (23) 1,552
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ณัฐพันธ์ ภมรศิริ (26) 1,457
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ณรงค์เดช บัวแก้ว (9) 1,337
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำนงค์ จูเผื่อน (14) 1,218
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิวัฒน์ เนียรภาค (15) 771
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมศักดิ์ สุขจันทร์ (17) 771
ชาติประชาธิปไตย มะลิวัลย์ นีละคุปต์ (12) 753
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ทองคำ ชาติบัวทอง (13) 715
ชาติประชาธิปไตย มนัย เม้งตระกูล (10) 692
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บรรลือศักดิ์ แก่นใส (25) 660
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บัญญัติ อัมระบุตร (16) 657
ชาติประชาธิปไตย สุนันทา ครุธทอง (11) 538
แรงงานประชาธิปไตย ภูษิต วีระเดชะ (21) 527
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจประชาคม บุญชู โรจนเสถียร (2)✔ 61,042
กิจประชาคม วสันต์ อินทรสูต (1)* 55,827
สหประชาธิปไตย สวัสดิ์ คำประกอบ (15)* 32,727
สหประชาธิปไตย พลตำรวจโท กริช ปัจฉิมสวัสดิ์ (16) 22,965
กิจสังคม พรพิมล มั่นมาก (14) 1,421
ราษฎร (พ.ศ. 2529) นิ่มนวล พินทุโยธิน (3) 950
ชาติประชาธิปไตย ชูศักดิ์ ประสงค์วัฒนา (5) 449
ชาติประชาธิปไตย ศรีนันท์ สรแพทย์ (6) 400
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จรัน พ่วงพลับ (12) 384
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไมตรี เชาว์ปรีชา (4) 298
กิจสังคม สุพจน์ มั่นมาก (13) 119
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ฤกษ์ พูลสวัสดิ์ (7) 93
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชาตรี อิ่มโภคา (11) 92
แรงงานประชาธิปไตย ชัชวาล คำภักดี (9) 74
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สำราญ โพธิ์สาร (8) 69
แรงงานประชาธิปไตย คมสันต์ คำภักดี (10) 63
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 3

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหประชาธิปไตย ประเทือง คำประกอบ (15)* 36,981
สหประชาธิปไตย วิจิตร แจ่มใส (16) 33,631
กิจประชาคม อรรถเดช ดุลยฤทธิ์ (4) 28,222
ราษฎร (พ.ศ. 2529) โกวิท ภูตะคาม (1) 17,930
กิจประชาคม ชาญ สร้อยจำปา (3) 8,841
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ณรงค์ สายหยุด (2) 8,654
ประชากรไทย บุญลือ มีสมสืบ (7) 8,473
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธานี เมฆานุพักตร์ (5) 6,169
ประชากรไทย มงคล มากบุญ (8) 3,772
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บุญมี คำสมศรี (14) 2,110
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ฐิติกา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (6) 1,154
ชาติประชาธิปไตย ประภา นัยพินิจ (10) 220
ชาติประชาธิปไตย อรุณศักดิ์ สุระพัฒน์ (9) 211
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อินทร์ อินทร์ฉ่ำ (12) 207
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ร้อยเอก สานิตย์ บุญคำ (11) 160
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ณรงค์ สารีสังข์ (13) 153
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530