พ.ศ. 2404
ปี
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
พุทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2404 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1861 MDCCCLXI |
Ab urbe condita | 2614 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1310 ԹՎ ՌՅԺ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6611 |
ปฏิทินบาไฮ | 17–18 |
ปฏิทินเบงกอล | 1268 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2811 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 24 Vict. 1 – 25 Vict. 1 |
พุทธศักราช | 2405 |
ปฏิทินพม่า | 1223 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7369–7370 |
ปฏิทินจีน | 庚申年 (วอกธาตุโลหะ) 4557 หรือ 4497 — ถึง — 辛酉年 (ระกาธาตุโลหะ) 4558 หรือ 4498 |
ปฏิทินคอปติก | 1577–1578 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3027 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1853–1854 |
ปฏิทินฮีบรู | 5621–5622 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1917–1918 |
- ศกสมวัต | 1783–1784 |
- กลียุค | 4962–4963 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11861 |
ปฏิทินอิกโบ | 861–862 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1239–1240 |
ปฏิทินอิสลาม | 1277–1278 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชมันเอ็ง 2 / ศักราชบุงกีว 1 (文久元年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 12 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4194 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 51 ก่อน ROC 民前51年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411)
- กรมพระราชวังบวรสถานมงคล: พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าวรญาณรังษี
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: เจ้าอนันตวรฤทธิเดช
- เจ้าผู้ครองนครแพร่: พระยาพิมพิสารราชา
- เจ้าประเทศราช:
- กรมพระราชวังบวรสถานมงคล: พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
เหตุการณ์
แก้- 20 มีนาคม - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในขณะพระชันษา 9 พรรษาได้รับการสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ [1]
- 25 พฤษภาคม – พระราชพิธีถวายมหาสมณุตมาภิเษก พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสุขุมาลมารศรี ซึ่งภายหลังสถาปนาเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
- 1 กันยายน - สยามยกทัพไปเขมร เพื่อระงับเหตุศึกพี่น้องเขมรรบกันเอง มีเจ้าพระยามุขมนตรี (เกษ สิงหเสนีย์) เป็นแม่ทัพ
- 11 กันยายน - มีการประกาศให้คำนำหน้าชื่อ นาย อำแดง ในสยาม
ไม่ทราบวัน
แก้วันเกิด
แก้- ไม่ระบุ - หลวงพ่อบ่าย ธมฺมโชโต
- 21 กุมภาพันธ์ - เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระราชอัยกา(ตา)ใน สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม, สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และ สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (สิ้นพระชนม์ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2494)
- 10 พฤษภาคม - สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (สิ้นพระชนม์ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470)
- 17 สิงหาคม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา (สิ้นพระชนม์ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2468)
- 12 พฤศจิกายน - พระครูนนทวุฒาจารย์ (ช่วง จนฺทโชโต)
- 20 พฤศจิกายน - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ (สิ้นพระชนม์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2474)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 11 สิงหาคม - พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ (ประสูติ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2377)
- 22 สิงหาคม - จักรพรรดิเสียนเฟิง (พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2374)
- 9 กันยายน - สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377)
- 14 ธันวาคม - เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (พระราชสมภพ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2362)
อ้างอิง
แก้- ↑ จิรวัฒน์ อุตตมะกุล, สมเด็จพระภรรยาเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้าในรัชกาลที่ 5, สำนักพิมพ์มติชน, 2546 ISBN 974-322-964-7