Yuktanan
คุณยุกตนันท์ จำปาเทศ กำลังพยายามลาพักร้อนจากวิกิพีเดีย และจะกลับมาในวันที่ 9 ธันวาคม พุทธศักราช 2569 อย่างไรก็ตาม คุณยุกตนันท์ จำปาเทศ ไม่น่าจะลาพักร้อนจากวิกิพีเดียได้นานขนาดนั้น และอาจกลับมาเร็วกว่าที่คาดไว้เดิม เพื่อเข้ามาแก้ไขวิกิพีเดียเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นระยะ |
Yuktanan | |
วันเกิด | 10 กุมภาพันธ์ |
---|---|
อาชีพ | ข้าราชการพลเรือนสามัญ |
เพศ | ชาย |
สรรพนาม | ผม/คุณ/เขา |
สถานที่อยู่ | กรุงเทพมหานคร |
เริ่มเขียน | 16 มีนาคม พ.ศ.2547 |
สิ่งที่สนใจ | ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ประเทศ การเมือง วิทยาศาสตร์ การปกครอง |
ความตั้งใจ | ทำให้โลกสงบสุข |
ติดวิกิพีเดีย | 99.9999% |
ระดับทักษะ | วิกิมาสเตอร์ |
วิกิพีเดีย:บาเบล | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||||||||||||
ผู้ใช้ตามภาษา |
วิกิพีเดีย:บาเบล | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| ||||||||||||||
ผู้ใช้ตามภาษา |
เกี่ยวกับปท.ไทย
|
ประวัติส่วนตัว
แก้- ชื่อ ยุกตนันท์ จำปาเทศ
- วันเสาร์ที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๓ เวลา ๐๙.๐๙ หลังเที่ยง ก่อน วันมาฆบูชา ๑ วัน ณ โรงพยาบาลพระจอมเกล้า ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
ซึ่งเพลาที่เริ่มออกมาดูโลกนั้นเป็นช่วงเวลาเดียวกับ รถไฟไทย ขบวนหนึ่งได้เข้าสถานีเพชรบุรี แล้วมีเสียงดัง แป๊ง- แป๊ง-แป๊ง ข้ามจากรถไฟ มายังโรงพยาบาลว่าก็ยังมีเสียงที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตว่า "ที่นี่สถานีเพชรบุรี ที่นี่สถานีเพชรบุรี .............." หลังจากนั้น กิจกรรมการเดินทางก็เริ่มขึ้นต่อไป...
ผู้เกิด ณ สถานที่แห่งนั้น กลับรู้สึกผิดหวังจากสถานที่แห่งนี้ ที่มีผู้คนเข้าใช้บริการมากมายอยู่เนืองนิจ แต่กลับมีคนบางกลุ่ม ที่ผู้คนเหล่านั้นได้ฝากความหวัง ความหวัง และก็ความหวัง ไม่ได้ใช้สมองอย่างเต็มความสามารถ แต่ใช้การเดาอย่างสุดเวี่ยง . . . . . มันจึงเป็นที่มาของน้ำตา น้ำตา และก็น้ำตา ของบุคคลผู้นี้ ที่ได้ลืมตาดูโลก ณ ที่นี่ ได้เคยวนเวียน จนเกือบเดือน หลายสิ่งหลายอย่างเลวลง จึงได้มาของคำต่อมาคือ .... สายไป เหมือนน้ำไหลลง อย่างไม่มีวันหวนกลับสู่ที่สูงได้ตามลำพัง
ผลงานการวิจัย
แก้- เรื่อง"ชนิดของแมลงที่ตรวจพบจากซากลูกสุกร" โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวรรณ อมรศักดิ์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษเพื่อความสมบูรณ์แห่งปริญญาวิทยาศาสตรบัญฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขากีฏวิทยา โดยเริ่มการทดลองเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 อันเนื่องจากเป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย ทำให้ต้องลองผิดลองถูกในการทดลอง มีผิดพลาดอยู่หลายครั้ง หลายหนจนเกือบจะเปลี่ยนโครงการ แต่ได้รับกำลังใจจากท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวรรณ อมรศักดิ์ (อาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ)จนสามารถมีกำลังใจต่อสู้ แก้ไขปัญหาต่าง จนนำไปสู่ความสำเร็จ โครงการแล้วเสร็จการทดลองเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547
- มีนิสิต นักศึกษา จากระดับชั้นปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ได้เข้าติดต่อมาปรึกษาในการทดลองด้านนิติเวชกีฏวิทยา หากผู้ทดลองด้านกีฏวิทยาท่านใดมีปัญหา หรือผู้สนใจจะปรึกษาก็สามารถติดต่อได้จากด้านล่างนี้
ติดต่อ
แก้การเจ็บป่วย
แก้- การผ่าตัดเพื่อช่วยเหลือชีวิต
- สงวนข้อมูล ติดต่อสอบถามเจ้าตัวโดยตรง
- การให้เคมีบำบัด
- สงวนข้อมูล ติดต่อสอบถามเจ้าตัวโดยตรง
- การแพ้ยา
- DIAMINE PENG 1,2 MU
- Penicillin Antibiotics (pen-ih-SIL-in)
- การให้ความช่วยเหลือเพื่อการเต้นของชีพจร
- สงวนข้อมูล ติดต่อสอบถามเจ้าตัวโดยตรง
- สัญญาณชีพผิดปกติขั้นวิกฤติ
- ภาวะวิกฤติของสัญญาณชีพขั้นรุนแรง เมื่อ มกราคม พ.ศ. 2530
- ภาวะวิกฤติของสัญญาณชีพขั้นรุนแรง เมื่อ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524
- โรงพยาบาลที่มีประวัติการรักษา
- โรงพยาบาลพระจอมเกล้า
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
- โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
- โรงพยาบาลสมเด็จบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
- โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
- โรงพยาบาลราชวิถี
- โรงพยาบาลราชบุรี
- โรงพยาบาลกำแพงแสน
- โรงพยาบาลพญาไท
- โรงพยาบาลเพชรรัช
- โรงพยาบาลเมืองเพชร-ธนบุรี
สถานศึกษา
แก้- สถานที่เคยศึกษา
- สถานที่ศึกษาปัจจุบัน
- หลักสูตรที่ศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย
- วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขากีฏวิทยา สำเร็จการศึกษาจากภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน (ซึ่งภายหลังเป็น คณะเกษตร กำแพงแสน)
- วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร) สาขาส่งเสริมการเกษตร สำหรับผู้บริหาร สำเร็จการศึกษาจากภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
สถานที่ทำงาน
แก้- ข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ถวายงาน ณ สำนักงานโครงการสายใยรักฯ วังศุโขทัย
- อดีต
- นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ ประจำสำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ
- กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- สำนักพัฒนาเกษตรกร กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร
- ปฏิบัติราชการ ณ สำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวในพระราชูปภัมถ์ ฯ ส่วนกรมส่งเสริมการเกษตร
- สำนักงานเกษตรอำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ
เกียรติประวัติ/กิจกรรมที่ผ่านมา
แก้- รองชนะเลิศลำดับที่สองการตอบปัญหา "คุณภาพเพื่อชีวิต" จากกลุ่มโรงเรียนบางแก้ว จังหวัดเพชรบุรี
- ชนะเลิศการประกวดเขียนเรียงความ "พระพุทธศาสนา" จากศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่นวัดภาคกลาง
- กรรมการนักเรียนโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
- กรรมการรุ่น "มุ่งมั่นสู่ ISO 1401" โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
- ประธานโครงการสร้างวินัยเพิ่มไมตรี
- สมาชิกสภาผู้แทนนิสิต องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
- กรรมาธิการบริการและรับเรื่องทั่วไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ผู้ก่อตั้งชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ได้รับการยกย่องจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้เป็นนิสิตดีเด่นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ประธานกรรมาธิการบริการและรับเรื่องทั่วไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ผู้ดำเนินรายการสถานีวิทยุ 98.75 ณ ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรแห่งชาติ
ฯลฯ
Admin/Webmaster
แก้อดีต
- โครงการปริญญาเอกสาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการการศึกษา
- องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- สภาผู้แทนนิสิต องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
- ชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
- งานกีฬาประเพณี ๔ จอบแห่งชาติ
- กำแพงแสนเกมส์ (การแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคี)
- งานกิจการนิสิต คณะเกษตร
- ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยากรรับเชิญ
แก้- อบรมอาจารย์โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา {อบรมการพัฒนาโฮมเพจ}พ.ศ. 2548
- อบรมนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ {อบรมโฮมเพจ} พ.ศ. 2549
- อบรมนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ {อบรมบรอสแคส} พ.ศ. 2551
- อบรมนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ {อบรมโฮมเพจ} พ.ศ. 2551
...
จังหวัดที่เคยพักอาศัยเกินกว่า 1 เดือน
แก้ประกาศ
แก้- 1 สิงหาคม – เริ่มกิจกรรม สนับสนุนรู้ไหมว่าในวิกิพีเดียภาษาไทย พ.ศ. 2567
- 12 ตุลาคม – ข้อควรพิเคราะห์การใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ายฯ ในบทความชีวประวัติของบุคคล
- 20 ตุลาคม – จัดตั้งโครงการวิกิยูโรวิชัน
- 23 ตุลาคม – จัดตั้งโครงการวิกิดิสนีย์
สร้างบทความใหม่
แก้ทุกคนรวมทั้งคุณ สามารถช่วยเขียนวิกิพีเดียได้ เพียงพิมพ์ชื่อเรื่องที่คุณต้องการลงในกล่องข้างล่าง (ดู หลักการตั้งชื่อที่เหมาะสม) แล้วคลิกที่ปุ่ม "สร้างบทความ" แล้วเริ่มเขียนได้เลย
รายละเอียดเพิ่มเติม ดูเพิ่มได้ที่ วิธีสร้างบทความใหม่ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการเขียนบทความบนวิกิพีเดีย เชิญที่ แผนกช่วยเหลือ
สิ่งที่คุณทำได้
แก้ย้อนรอย
แก้19 พฤศจิกายน: วันการปลดปล่อยในมาลี; วันบุรุษสากล; วันส้วมโลก
- พ.ศ. 2036 (ค.ศ. 1493) – คริสตอเฟอร์ โคลัมบัส (ในภาพ) เป็นชาวยุโรปคนแรกที่เหยียบแผ่นดินเปอร์โตริโก
- พ.ศ. 2337 (ค.ศ. 1794) – สหรัฐอเมริกาและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ร่วมกันลงนามสนธิสัญญาเจย์ ซึ่งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ หลังสงครามประกาศอิสรภาพ
- พ.ศ. 2406 (ค.ศ. 1863) – สงครามกลางเมืองอเมริกา: ประธานาธิบดี อับราฮัม ลิงคอล์น กล่าวคำปราศรัยเกตตีสเบิร์กในสุสานทหารแห่งชาติ เกตตีสเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย
- พ.ศ. 2485 (ค.ศ. 1942) – สงครามโลกครั้งที่สอง: กองทัพโซเวียต ภายใต้การนำของพลเอก เกออร์กี จูคอฟ เริ่มต้นปฏิบัติการยูเรนัส ระหว่างยุทธการที่สตาลินกราด เพื่อโอบกองกำลังฝ่ายอักษะ ซึ่งเปลี่ยนสถานการณ์ของสงครามให้เข้าข้างฝ่ายโซเวียต
- พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1967) – ในนัดที่ลงเล่นให้กับซานโตส พบกับวัชกู ดา กามา ในมาราคานัน ริโอเดจาเนโร เปเล่ นักฟุตบอลชาวบราซิล ทำประตูที่ 1,000 ของเขาด้วยการยิงลูกโทษ
ดูเพิ่ม: 18 พฤศจิกายน – 19 พฤศจิกายน – 20 พฤศจิกายน
นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีกทั้งหมด 324 ภาษา โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่แสดงรายการด้านล่างนี้
-
1,000,000+ บทความ
- English (อังกฤษ)
- Sinugboanong Binisaya (เซบู)
- Svenska (สวีเดน)
- Deutsch (เยอรมัน)
- Français (ฝรั่งเศส)
- Nederlands (ดัตช์)
- Русский (รัสเซีย)
- Italiano (อิตาลี)
- Español (สเปน)
- Polski (โปแลนด์)
- Winaray (วาไร-วาไร)
- Tiếng Việt (เวียดนาม)
- 日本語 (ญี่ปุ่น)
- 中文 (จีน)
- العربية (อาหรับ)
- Português (โปรตุเกส)
- Українська (ยูเครน)
-
250,000+ บทความ
- فارسی (เปอร์เซีย)
- Català (กาตาลา)
- Српски / Srpski (เซอร์เบีย)
- Norsk (bokmål) (นอร์เวย์)
- Bahasa Indonesia (อินโดนีเซีย)
- 한국어 (เกาหลี)
- Suomi (ฟินแลนด์)
- Magyar (ฮังการี)
- Čeština (เช็ก)
- Srpskohrvatski / српскохрватски (บอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย)
- Română (โรมาเนีย)
- Bân-lâm-gú (หมิ่นใต้)
- Euskara (บาสก์)
- Türkçe (ตุรกี)
- مصرى (Maṣri) (อาหรับอียิปต์)
- Bahasa Melayu (มลายู)
- Esperanto (เอสเปรันโต)
- Հայերեն (อาร์มีเนีย)
- עברית (ฮีบรู)
- Български (บัลแกเรีย)
- Dansk (เดนมาร์ก)
- Нохчийн (เชเชน)
-
100,000+ บทความ
- تۆرکجه (อาเซอร์ไบจานใต้)
- Slovenčina (สโลวัก)
- Қазақша (คาซัค)
- Minangkabau (มีนังกาเบา)
- Hrvatski (โครเอเชีย)
- Eesti (เอสโตเนีย)
- Lietuvių (ลิทัวเนีย)
- Беларуская (เบลารุส)
- Ελληνικά (กรีก)
- Slovenščina (สโลวีเนีย)
- Gallego (กาลิเซีย)
- Simple English (อังกฤษอย่างง่าย)
- Azərbaycanca (อาเซอร์ไบจาน)
- اردو (อูรดู)
- Norsk nynorsk (นีนอสก์)
- हिन्दी (ฮินดี)
- ქართული (จอร์เจีย)
- O‘zbek (อุซเบก)
- Latina (ละติน)
- Cymraeg (เวลส์)
- தமிழ் (ทมิฬ)
- Volapük (โวลาปุก)
- Asturianu (อัสตูเรียส)
- Македонски (มาซิโดเนีย)
- Latviešu (ลัตเวีย)
- Тоҷикӣ (ทาจิก)