จังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 2 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน

จังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ74.30%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 122,038 14,376
% 83.34 9.82

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดภูเก็ต)

แก้
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 122,038 83.34%  23.78%
พลังประชาชน 14,376 9.82%  26.72%
อื่น ๆ 10,015 6.84%  2.95%
ผลรวม 146,429 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
83.34%
พลังประชาชน
  
9.82%
อื่น ๆ
  
6.84%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

แก้
เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 122,038 83.34% 14,376 9.82% 10,015 6.84% 146,429 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 122,038 83.34% 14,376 9.82% 10,015 6.84% 146,429 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดภูเก็ต)

แก้
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 2 2   100.00%
พลังประชาชน 2 0   0.00%
อื่น ๆ 8 0   0.00%
ผลรวม 12 2   100.00%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

แก้
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 93,004 66.72% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
2 87,905 63.06% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

แก้

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 8

แก้

กลุ่มจังหวัดที่ 8 ประกอบไปด้วยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 156,932 4.08
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 61,688 1.60
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 33,729 0.88
ประชาธิปัตย์ (4) 3,086,262 80.17
พลังเกษตรกร (5) 26,029 0.68
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 26,472 0.69
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 319,984 8.31
ชาติไทย (13) 57,589 1.50
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 17,999 0.47
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 13,108 0.34
ประชากรไทย (18) 6,801 0.18
ประชามติ (19) 6,382 0.17
ไทเป็นไท (20) 14,823 0.39
พลังแผ่นดินไท (21) 6,440 0.17
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 5,297 0.14
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 6,587 0.17
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 3,480 0.09
บัตรดี 3,849,602 92.19
บัตรเสีย 240,163 5.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 86,016 2.06
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,175,781 77.96
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,356,089 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 8

แก้

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 8 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย
บัญญัติ บรรทัดฐาน
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นิพนธ์ บุญญามณี
พีรยศ ราฮิมมูลา
เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
พรรคพลังประชาชน อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน มานพ ปัตนวงศ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดภูเก็ต

แก้
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดภูเก็ต
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 2,870 1.96
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 1,877 1.28
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 510 0.35
ประชาธิปัตย์ (4) 122,038 83.34
พลังเกษตรกร (5) 624 0.43
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 548 0.37
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 14,376 9.82
ชาติไทย (13) 1,931 1.32
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 335 0.23
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 251 0.17
ประชากรไทย (18) 147 0.10
ประชามติ (19) 82 0.06
ไทเป็นไท (20) 235 0.16
พลังแผ่นดินไท (21) 134 0.09
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 76 0.05
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 309 0.21
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 86 0.06
บัตรดี 146,429 91.95
บัตรเสีย 6,779 4.26
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,035 3.79
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 159,243 74.30
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 214,329 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดภูเก็ตทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดภูเก็ต
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เรวัต อารีรอบ (2) 93,004 66.72
ประชาธิปัตย์ ทศพร เทพบุตร (1) 87,905 63.06
ชาติไทย สมชาติ สมนาม (4) 17,252 12.38
พลังประชาชน ศรีญาดา ชินวัตร (5) 15,220 10.92
พลังประชาชน วิสุทธิ์ สันติกุล (6) 14,683 10.53
ชาติไทย จ่าเอก สรนันท์ เสน่ห์ (3) 7,963 5.71
เพื่อแผ่นดิน อารี สุริยา (10) 6,327 4.54
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชัยพิทักษ์ อภิชิตสิทธิกุล (8) 5,267 3.78
เพื่อแผ่นดิน วิสุทธิ์ จันทิรา (9) 3,585 2.57
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชวิศ ตุ้งกู (7) 2,948 2.12
ไทยร่ำรวย นฤมล ลีละหุต (12) 1,166 0.84
ไทยร่ำรวย วัชรินทร์ อมรสิงห์ (11) 465 0.33
บัตรดี 139,403 87.55
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 15,772 9.90
บัตรเสีย 4,066 2.55
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 159,241 74.30
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 214,329 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้