พ.ศ. 2502
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1959)
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
พุทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีกุน เอกศก จุลศักราช 1321 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2502 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1959 MCMLIX |
Ab urbe condita | 2712 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1408 ԹՎ ՌՆԸ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6709 |
ปฏิทินบาไฮ | 115–116 |
ปฏิทินเบงกอล | 1366 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2909 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 7 Eliz. 2 – 8 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2503 |
ปฏิทินพม่า | 1321 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7467–7468 |
ปฏิทินจีน | 戊戌年 (จอธาตุดิน) 4655 หรือ 4595 — ถึง — 己亥年 (กุนธาตุดิน) 4656 หรือ 4596 |
ปฏิทินคอปติก | 1675–1676 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3125 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1951–1952 |
ปฏิทินฮีบรู | 5719–5720 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2015–2016 |
- ศกสมวัต | 1881–1882 |
- กลียุค | 5060–5061 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11959 |
ปฏิทินอิกโบ | 959–960 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1337–1338 |
ปฏิทินอิสลาม | 1378–1379 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 34 (昭和34年) |
ปฏิทินจูเช | 48 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4292 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 48 民國48年 |
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 –พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506)
เหตุการณ์
แก้- 2 มกราคม - กองกำลังของฟิเดล คาสโตรเข้าสู่ฮาวานา
- 3 มกราคม - รัฐอะแลสกาเป็นรัฐที่ 49 ของสหรัฐ
- 7 มกราคม - สหรัฐรับรองรัฐบาลใหม่ของคิวบา ซึ่งนำโดยฟิเดล คาสโตร
- 3 กุมภาพันธ์ - นักดนตรี 3 คน บัดดี ฮอลลี ริชี วาเลนส์ และ เดอะบิกบอพเพอร์ เสียชีวิตในอุบัติเหตุเครื่องบินตก รู้จักกันในชื่อ "The Day The Music Died"
- 6 กุมภาพันธ์ - แจ็ค คิลบี วิศวกรไฟฟ้าชาวอเมริกัน จดสิทธิบัตรฉบับแรกของแผงวงจรรวม
- 16 กุมภาพันธ์ - ฟิเดล คาสโตร ผู้นำการปฏิวัติ ก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี กลายเป็นผู้นำที่อายุน้อยที่สุดของประเทศคิวบา
- 17 กุมภาพันธ์ - สหรัฐส่งดาวเทียมแวนการ์ด 2 ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาดวงแรก ขึ้นสู่อวกาศ ใช้เก็บข้อมูลการกระจายตัวของเมฆ
- 17 มีนาคม - เทนซิน เกียโซ ดาไลลามะองค์ที่ 14 ทรงลี้ภัยการเมือง จากทิเบตไปอยู่อินเดีย
- 4 เมษายน - ทีมฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 26 ณ สนามกีฬาโมนูเมนตัล กรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา
- 9 เมษายน - องค์การนาซาประกาศการคัดเลือกเหล่านักบินอวกาศชุดแรก ในโครงการเมอร์คิวรี
- 10 เมษายน - เจ้าชายอะกิฮิโตะ อนาคตจักรพรรดิญี่ปุ่น อภิเษกกับเจ้าหญิงมิชิโกะ
- 25 เมษายน - เส้นทางเดินเรือสมุทรเซนต์ลอว์เรนซ์ ระบบคลองที่เชื่อมเกรตเลกส์กับมหาสมุทรแอตแลนติก เปิดใช้สำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือเป็นครั้งแรก
- 29 พฤษภาคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 2 ณ ประเทศอียิปต์
- 1 มิถุนายน - วันรัฐธรรมนูญของประเทศตูนิเซีย
- 5 มิถุนายน - รัฐบาลชุดแรกของประเทศสิงคโปร์เข้าสาบานตนรับตำแหน่ง
- 25 กรกฎาคม - พระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของประเทศ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมับติ เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง ประเทศรวันดา
- 28 กรกฎาคม - วันก่อตั้งสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย (อังกฤษ: Amateur Volleyball Association of Thailand)
- 21 สิงหาคม - สหรัฐผนวกรัฐฮาวาย เป็นรัฐที่ 50
- 12 กันยายน - พบศพ นวลฉวี เพชรรุ่ง ที่สะพานนนทบุรี
- 15 กันยายน - นีกีตา ครุชชอฟผู้นำสหภาพโซเวียต เดินทางเยือนสหรัฐ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่สหภาพโซเวียตเปิดความสัมพันธ์กับอเมริกาตั้งแต่เริ่มต้นสงครามเย็น
- 7 ตุลาคม - ภูกระดึงได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ
- 9 พฤศจิกายน - สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 เสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร
- 11 ธันวาคม - อำเภอทุ่งเสลี่ยมได้รับการจัดตั้งเป็นอำเภอ
- 25 ธันวาคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติอุรุกวัยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 27 ณ สนามกีฬาโมเดโล เมืองกัวยากิล ประเทศเอกวาดอร์
ไม่ทราบวัน
แก้- เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี เสด็จเยือน ราชอาณาจักรไทย ซึ่งในการนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์เพลง แผ่นดินของเรา เพื่อเป็นการต้อนรับ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
แก้- 24 มีนาคม - จันทรุปราคาบางส่วน มองเห็นได้ในประเทศไทย (เช้ามืดวันที่ 25 มีนาคม ตามเวลาท้องถิ่น)
- 8 เมษายน - สุริยุปราคาวงแหวน มองเห็นได้ในด้านตะวันออกของมหาสมุทรอินเดีย ตอนกลางของประเทศออสเตรเลีย และด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณที่เห็นสุริยุปราคาบางส่วน ได้แก่ ตะวันออกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนใต้ของมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนิวซีแลนด์ และบางส่วนของทวีปแอนตาร์กติกา
- 2 ตุลาคม - สุริยุปราคาเต็มดวง มองเห็นได้ในแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ บางส่วนของมหาสมุทรแอตแลนติก และตอนกลางของทวีปแอฟริกา บริเวณที่เห็นสุริยุปราคาบางส่วน ได้แก่ ด้านตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ ส่วนใหญ่ของทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง ส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา และมหาสมุทรอินเดีย
วันเกิด
แก้มกราคม
แก้- 1 มกราคม -
- อุดมเดช รัตนเสถียร อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- อะซาลี อะษุมานี นักการเมืองคอโมโรส
- 2 มกราคม - สจวร์ต แฟนซี นักกีฬาหมากรุกสากล
- 3 มกราคม - เจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ (ประสูติ ค.ศ. 1959)
- 5 มกราคม -
- แคลนซี บราวน์ นักแสดงและนักพากย์ชาวอเมริกัน
- สมศักดิ์ ใจแคล้ว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี
- 10 มกราคม - เมารีซีโอ ซาร์รี ผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอิตาลี
- 12 มกราคม - พูนสุข โลหะโชติ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน
- 16 มกราคม - ชาเด นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 21 มกราคม - อเล็กซ์ แม็กลีช นักฟุตบอลชาวสกอตแลนด์
- 22 มกราคม -
- ผ่องศรี ธาราภูมิ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี
- ลินดา แบลร์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 23 มกราคม - ศิริชัย ไม้งาม สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ แกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
- 24 มกราคม - มิเชล พรูดอม อดีตนักฟุตบอลชาวเบลเยียม
- 26 มกราคม - ซัลวาดอร์ ซันเชซ อดีตแชมป์โลก WBC (ถึงแก่กรรม 12 สิงหาคม พ.ศ. 2525)
- 31 มกราคม - อรรถพร พลบุตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี
กุมภาพันธ์
แก้- 5 กุมภาพันธ์ - หยาง พ่านพ่าน อดีตนักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 7 กุมภาพันธ์ -
- แซมมี ลี นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- มิก มักคาร์ที นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ
- 8 กุมภาพันธ์ -
- เมาริซิโอ มากริ นักการเมืองชาวอาร์เจนตินา
- วิจักขฐ์ สิริบรรสพ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก,อดีตแม่ทัพภาคที่3
- แอนดรูว์ ฮอย นักกีฬาขี่ม้าชาวออสเตรเลีย
- 9 กุมภาพันธ์ -
- ฟีลีปึ ญูซี นักการเมืองชาวโมซัมบิก
- อาลี บองโก ออนดิมบา นักการเมืองกาบอง
- 10 กุมภาพันธ์ - วันนี่ วาน กิลส์ นักฟุตบอลและครูฝึกสอนฟุตบอลชาวเนเธอร์แลนด์
- 15 กุมภาพันธ์ - ฮูโก ซาวีโนวิช ผู้ประกาศนักมวยปล้ำอาชีพ
- 16 กุมภาพันธ์ - จอห์น แม็กเอนโร นักเทนนิสชายชาวอเมริกัน
- 17 กุมภาพันธ์ - ธวัชชัย ไทยเขียว อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม
- 18 กุมภาพันธ์ -
- อเล็คซันดรา เจ้าหญิงแห่งไลนิงเงิน
- แกรัลด์ แอร์มันน์ อดีตนายกนักฟุตบอลชาวเยอรมัน
- 19 กุมภาพันธ์ -
- พรรณสิริ กุลนาถศิริ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- มิสึอะกิ โฮะชิโนะ นักแสดงและนักพากย์ชาวญี่ปุ่น
- 21 กุมภาพันธ์ - พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมไทย
- 22 กุมภาพันธ์ - ยอดมนู ภมรมนตรี อดีตพิธีกรรายการโทรทัศน์
- 26 กุมภาพันธ์ - อาห์เหม็ด ดาวูโตกลู อดีตนายกรัฐมนตรีตุรกี
มีนาคม
แก้- 2 มีนาคม - ทิโมธี เอ็ม. เบรนแนน และโรเบิร์ต แลดด์ ตำรวจนักสืบชาวอเมริกัน
- 4 มีนาคม
- ดัน โตก นักการเมืองชาวเช็กเกีย
- ศันสนีย์ นาคพงศ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี/และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- 8 มีนาคม
- โคคีร์ ราซุลโซดา นักการเมืองทาจิกิสถาน
- สีไส ลือเดดมูนสอน นักการเมืองชาวลาว
- 9 มีนาคม
- ทะกะอะกิ คะจิตะ นักฟิสิกส์ชาวญี่ปุ่น
- นิกิตา โคลอฟฟ์ นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 13 มีนาคม - พสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
- 17 มีนาคม - หลอ ฮุยกวง นักแสดงชาวฮ่องกง
- 18 มีนาคม
- ลุก แบซง ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศส
- ไอรีน คารา นักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดง ชาวอเมริกัน
- 20 มีนาคม - สติง (นักมวยปล้ำ) นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 21 มีนาคม - โนบูโอะ อูเอมัตสึ นักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น
- 27 มีนาคม - ซิกูเรอร์ จอนส์สัน (นักสกีอัลไพน์) นักสกีชาวไอซ์แลนด์ (ถึงแก่กรรม 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2539)
- 29 มีนาคม - ไมเคิล เฮย์ส นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 31 มีนาคม - โสภณ ซารัมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
เมษายน
แก้- 2 เมษายน - อัลเบร์โต เฟร์นันเดซ นักกฎหมายและนักการเมืองชาวอาร์เจนตินา
- 4 เมษายน - ตัน ภาสกรนที นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
- 10 เมษายน - เบบีเฟส นักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน
- 11 เมษายน - อำภา ภูษิต นักแสดงหญิงชาวไทย
- 15 เมษายน
- โทมัส เอฟ. วิลสัน นักแสดงชาวอเมริกัน
- เอ็มมา ทอมสัน นักแสดง นักเขียนบท ดาราตลก ชาวอังกฤษ
- 18 เมษายน - พวง เชิญยิ้ม ดารานักแสดงตลก
- 19 เมษายน - มาลินี อินฉัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ
- 21 เมษายน - ปินากี ฐากุร กวีชาวเบงกอล (ถึงแก่กรรม 3 มกราคม พ.ศ. 2562)
- 22 เมษายน - เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ แชมป์โลกมวยสากลคนที่ 6 ของไทย (ถึงแก่กรรม 2 ธันวาคม พ.ศ. 2525)
- 23 เมษายน - พรวุฒิ สารสิน นักธุรกิจ นักการเมืองชาวไทย
- 24 เมษายน
- ซุน ชุนกวอน แชมป์นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง
- 27 เมษายน - ฮวาง ชุงแจ แชมป์นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- 28 เมษายน - บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่
- 30 เมษายน - สตีเฟน ฮาร์เปอร์ อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดาคนที่ 22
พฤษภาคม
แก้- 2 พฤษภาคม - ดรู เล กุยเออร์ นักกีฬาว่ายน้ำ
- 4 พฤษภาคม - สก็อตต์ อาร์มสตรอง (นักมวยปล้ำ) นักมวยปล้ำอาชีพและกรรมการมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 6 พฤษภาคม - เจ้าหญิงซิฟาอาห์ บิซูแห่งเอธิโอเปีย
- 7 พฤษภาคม - อง เหม่ยหลิง นักแสดงชาวฮ่องกง (ถึงแก่กรรม 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2528)
- 8 พฤษภาคม - นาตาเลีย กรอสเวอร์เนอร์ ดัชเชสแห่งเวสต์มินสเตอร์
- 9 พฤษภาคม
- ยาโนช อาแดร์ นักกฎหมายและนักการเมืองชาวฮังการี อดีตประธานาธิบดีฮังการี
- อมร อมรรัตนานนท์ เข้าร่วมในเหตุการณ์ 6 ตุลา แนวร่วมคนสำคัญของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
- 12 พฤษภาคม
- ชาติศิริ โสภณพนิช กรรมการผู้จัดการใหญ่ของธนาคาร สมาชิกของคณะกรรมการบริหารของธนาคารกรุงเทพ
- วิง ราเมส นักแสดงชาวอเมริกัน
- 15 พฤษภาคม - เขาทราย แกแล็คซี่ - เขาค้อ แกแล็คซี่ แชมป์โลกมวยสากลคู่แฝดคู่แรกของไทยและของโลก
- 17 พฤษภาคม - สมุทร ศิษย์นฤพนธ์ อดีตแชมป์โลกคนที่ 11 ของไทย
- 20 พฤษภาคม - อิสราเอล คามาคาวิโวโอเล นักดนตรีชาวพื้นเมืองฮาวาย (ถึงแก่กรรม 26 มิถุนายน พ.ศ. 2540)
- 22 พฤษภาคม
- กวัก แจ-ยง ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทชาวเกาหลีใต้
- มอร์ริสซีย์ นักร้องนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 24 พฤษภาคม - กาญจนาพร ปลอดภัย นักแสดง ผู้จัดละครชาวไทย และอดีตนางแบบ
มิถุนายน
แก้- 6 มิถุนายน
- ซาคีร์ แฮแซนอฟ นักการเมืองชาวอาเซอร์ไบจาน
- ยุทธนา ลอพันธุ์ไพบูลย์ ผู้กำกับละคร ผู้สร้างละคร นักแสดงชาวไทย
- 7 มิถุนายน - ไมก์ เพนซ์ นักการเมืองชาวอเมริกัน รองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
- 8 มิถุนายน - เอกลักษณ์ ยลระบิล นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2538)
- 10 มิถุนายน
- การ์โล อันเชลอตตี ผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอิตาลี อดีตผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
- อีเลียต สปิตเซอร์ ทนายความชาวอเมริกัน อดีตนักการเมืองพรรคเดโมแครต
- 11 มิถุนายน
- แม็คนัม ที.เอ. อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- ฮิว ลอรี นักเขียน นักพากย์ นักแสดงตลก นักแสดง และนักดนตรีชาวอังกฤษ
- 12 มิถุนายน - สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 แห่งตองงา พระมหากษัตริย์รัชกาลที่6 แห่งตองงา
- 13 มิถุนายน
- เกลาส์ โยฮานิส ประธานาธิบดีแห่งโรมาเนีย
- บอยกอ บอรีซอฟ นักการเมืองชาวบัลแกเรีย
- 14 มิถุนายน - มาร์คัส มิลเลอร์ นักดนตรีแจ๊ส นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ และ นักดนตรีชาวอเมริกัน
- 16 มิถุนายน - ดิ อัลติเมท วอร์ริเออร์ อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 8 เมษายน พ.ศ. 2557)
- 19 มิถุนายน - คริสทีอัน วุล์ฟ นักการเมืองและนักกฎหมายชาวเยอรมัน
- 20 มิถุนายน - เลดีอเล็กซานดรา อีเธอริงตัน ราชวงศ์แซ็ก-โคบูร์กและก็อตธา
- 21 มิถุนายน
- นิมร์ อันนิมร์ มุสลิมนิกายชีอะฮ์ (ถึงแก่กรรม 2 มกราคม พ.ศ. 2559)
- สมเด็จพระราชินีเชอริง ยังดน วังชุก พระราชมารดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก พระราชาธิบดีพระองค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรภูฏาน
- 24 มิถุนายน - นิตยา บุญสูงเนิน นักร้องหญิงชาวไทย
- 26 มิถุนายน - กิติพันธ์ ปุณกะบุตร นักดนตรี นักแสดงชาวไทย
- 30 มิถุนายน - วินเซนต์ โดนอฟรีโอ นักแสดง, ผู้อำนวยการสร้าง และผู้กำกับชาวอเมริกัน
กรกฎาคม
แก้- 1 กรกฎาคม
- คิม ฮย็อง-ชิล นักขี่ม้าชาวเกาหลีใต้ (ถึงแก่กรรม 7 ธันวาคม พ.ศ. 2549)
- สมบัติ แก้วทิตย์ นักดนตรีชาวไทย
- 5 กรกฎาคม - มาร์ก คอห์น นักร้อง-นักแต่งเพลงอเมริกัน
- 8 กรกฎาคม - สามารถ มะลูลีม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร
- 9 กรกฎาคม
- เควิน แนช นักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกัน
- สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สมาชิก, สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์
- 14 กรกฎาคม - เจิมมาศ จึงเลิศศิริ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร
- 16 กรกฎาคม - ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
- 19 กรกฎาคม - ประดิษฐ สินธวณรงค์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไทย
- 26 กรกฎาคม - เควิน สเปซีย์ นักแสดงชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 30 กรกฎาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลละฮ์ ชะฮ์
- 31 กรกฎาคม - การุณ สกุลประดิษฐ์ อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สิงหาคม
แก้- 3 สิงหาคม - โคอิจิ ทานากะ นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น ได้รับรางวัลโนเบล สาขาเคมี
- 5 สิงหาคม - พีต เบินส์ นักร้อง นักแต่งเพลง นักเขียนและพิธีกรโทรทัศน์ชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 23 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- 8 สิงหาคม - โมซา บินตินัซเซอร์ อัลมิซเนด
- 11 สิงหาคม - วิทยา ปานศรีงาม นักแสดงชาวไทย
- 13 สิงหาคม
- ชูษี เชิญยิ้ม นักแสดงตลก นักแสดงชาวไทย
- วุฒิพงศ์ ฉายแสง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- 14 สิงหาคม
- มาร์เชอ เกย์ ฮาร์เดน นักแสดงภาพยนตร์ ละครเวที ชาวอเมริกัน
- แมจิก จอห์นสัน นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน
- 17 สิงหาคม - ชิน แท-ช็อล อดีตนักจักรยานชาวเกาหลีใต้
- 20 สิงหาคม - นาที รัชกิจประการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพัทลุง
- 21 สิงหาคม - ไชยวัฒน์ ติณรัตน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมหาสารคาม
- 22 สิงหาคม - มาร์ก วิลเลียมส์ (นักแสดง) นักแสดง นักเขียนบทและพิธีกรชาวอังกฤษ
- 26 สิงหาคม - เอมอร สินธุไพร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด
- 27 สิงหาคม - สุณีย์ เหลืองวิจิตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย
- 29 สิงหาคม
- คริส แฮดฟีลด์ นักบินอวกาศแคนาดา
- รีเบกกา เดอ มอร์เนย์ นักแสดงและโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน
- 30 สิงหาคม - วิภู กำเนิดดี พิธีกรอดิตนักร้องชาวไทย
กันยายน
แก้- 2 กันยายน - ประมวล ดาระดาษ นักเขียนชาวไทย
- 5 กันยายน - เอกภาพ พลซื่อ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด
- 6 กันยายน - จาง จือเลี่ยง ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกง
- 7 กันยายน - ศุภรักษ์ ควรหา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์
- 8 กันยายน - ประเสริฐ มงคลศิริ อดีตแพทย์ชาวไทย
- 9 กันยายน - ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจชาวไทย
- 13 กันยายน - อรรถพล ประเสริฐยิ่ง นักร้องไทย (ถึงแก่กรรม 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558)
- 14 กันยายน - ลีนา จังจรรจา ชาวไทยเชื้อสายจีน
- 17 กันยายน - ศักดิ์ แกแล็คซี่ นักมวยสากลชาวไทยรุ่นซูเปอร์เฟเธอร์เวท
- 23 กันยายน
- เค็นจิ โอโนะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- ทวี สอดส่อง อดีตเลขาธิการพรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)
- วิฑูรย์ นามบุตร อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 25 กันยายน - รัตนา ดำรงธนไพศาล หรือ ป้ารัตนา ห่อเร
- 26 กันยายน - เกียรติ สิทธีอมร อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย
ตุลาคม
แก้- 1 ตุลาคม - ยูส์ซู น'ดัวร์ นักร้องเซเนกัล
- 2 ตุลาคม - ทวี สุรฤทธิกุล ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 7 ตุลาคม - ไซมอน โคเวลล์ พิธีกรชาวอังกฤษ
- 10 ตุลาคม - เทอร์รี ดีทซ์ ผู้เข้าแข่งขันในรายการเซอร์ไวเวอร์
- 11 ตุลาคม - ดนุพล แก้วกาญจน์ นักร้องชายชาวไทย
- 12 ตุลาคม - อวี๋ อันอัน นักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 13 ตุลาคม
- กอบกุล นพอมรบดี อดีตพรรคไทยรักไทย (ถึงแก่กรรม 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549)
- สุพล เมนาคม นักวาดการ์ตูนไทย (ถึงแก่กรรม 21 มกราคม พ.ศ. 2561)
- อัษฎาวุธ วัฒนางกูร ทหารอากาศชาวไทย
- 15 ตุลาคม - ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาในเจ้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค
- 17 ตุลาคม - เฉิน หมิ่นเอ๋อ อดีตนักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 18 ตุลาคม
- จิกมี เชอริง ชาวภูฏาน
- เมารีซีโอ ฟูเนส ผู้นำประเทศในปัจจุบัน
- 19 ตุลาคม -
- จักรทิพย์ ชัยจินดา ตำรวจชาวไทย
- อับดุลลา ยามีน นักการเมืองมัลดีฟส์
- 22 ตุลาคม - อรรคพล สรสุชาติ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ
- 23 ตุลาคม
- แซม ไรมี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- "เวียร์ด แอล" แยงคะวิก นักร้องอเมริกัน
- สุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ นักวาดการ์ตูนไทย (ถึงแก่กรรม 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560)
- 26 ตุลาคม -
- พอล ฟาร์เมอร์ นักมานุษยวิทยาการแพทย์ และแพทย์ชาวอเมริกัน
- เอโบ โมราเลส ประธานาธิบดีโบลิเวีย
- 29 ตุลาคม -
- จอห์น มากูฟูลี นักการเมืองแทนซาเนีย
- โทชิยะ ชิโนฮาระ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวญี่ปุ่น
พฤศจิกายน
แก้- 1 พฤศจิกายน - เอริโกะ ฮาระ นักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 2 พฤศจิกายน - วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล อดีตนักการเมืองไทย
- 5 พฤศจิกายน
- ไบรอัน อดัมส์ ผู้ที่ได้รับรางวัลแกรมมี
- พระราชวรเมธี (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี) ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
- 8 พฤศจิกายน - ซอนยา กรีย์ นักกีฬาว่ายน้ำ ชาวออสเตรเลีย
- 12 พฤศจิกายน - หลิว เสวี่ยหัว นักแสดงหญิงชาวจีน
- 14 พฤศจิกายน - ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน นักฟุตบอลทีมชาติไทย
- 15 พฤศจิกายน - ทวี อัมพรมหา นักมวยไทยชาวไทย
- 17 พฤศจิกายน
- กมล พันธ์ศรีทุม ศัลยแพทย์ตกแต่ง
- กิตติพล เกศมณี นักแสดงชายชาวไทย
- 20 พฤศจิกายน - จอห์น ซัลลิแวน นักกฎหมาย และเจ้าพนักงานรัฐบาลกลางชาวอเมริกัน
- 26 พฤศจิกายน - ปารเมศ โพธารากุล ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 28 พฤศจิกายน - เจ้าหญิงคาทารีนาแห่งยูโกสลาเวีย
- 29 พฤศจิกายน - ประเสริฐ บุญเรือง นักการเมืองไทย
- 30 พฤศจิกายน - อิ๋ง กาญจนะวณิชย์ ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนชาวไทย
ธันวาคม
แก้- 1 ธันวาคม - พัชรินทร์ มั่นปาน อดีตครูชาวไทย
- 5 ธันวาคม - โยะชิโตะโมะ นะระ ศิลปินชาวญี่ปุ่น
- 6 ธันวาคม - ซาโตรุ อิวาตะ นักธุรกิจชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2558)
- 10 ธันวาคม - สิริพงษ์ จรัสศรี มุขนายกองค์ที่ 4 แห่งเขตมิสซังจันทบุรี
- 13 ธันวาคม - จวง จิ้งเอ๋อร์ อดีตนักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 15 ธันวาคม - บุษยา มาทแล็ง ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 17 ธันวาคม - จัดสัน ฮิล นักการเมืองชาวอเมริกัน
- 21 ธันวาคม
- ชัยวัฒน์ เกตุวรชัย รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ฟลอเรนซ์ กริฟฟิท จอยเนอร์ นักกรีฑาชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2558)
- 24 ธันวาคม – พายัพ ปั้นเกตุ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี
- 25 ธันวาคม
- ดั่ง ถิ หง็อก ถิ่ญ นักการเมืองหญิงชาวเวียดนาม
- วาสนา สิทธิเวช นักแสดงไทย
- 27 ธันวาคม – เพชรงาม ชูวัฒนะ นักมวยสากลชาวไทยรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (ถึงแก่กรรม 10 กันยายน พ.ศ. 2538)
- 29 ธันวาคม
- เทวัญ ลิปตพัลลภ ประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมา และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 3 สมัย
- แพทริเซีย คลาร์กสัน นักแสดงอเมริกัน
- เหอ เจียจิ้ง นักแสดงชาวฮ่องกง
- 31 ธันวาคม
- วัล คิลเมอร์ นักแสดงชายชาวอเมริกัน
- แบรอน วาคา ประธานาธิบดีนาอูรู
?
แก้- ? – คนางค์ ดำรงหัด นักแสดงไทย
- ? – เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ แพทย์ชาวไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์
- ? – ชวลิต วิทยานนท์ นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย
- ? – ตะ ซวี อัญ นักเขียนชาวเวียดนาม
- ? – ทอม ดันดี นักร้อง/นักแสดงชาวไทย
- ? – น้ำอ้อย พรวิเชียร นักร้องลูกทุ่งไทย
- ? – เจ้ายอดศึก ชาวพม่าเชื้อสายไทใหญ่
- ? – อับดิเวลี ชีค อาห์เมด นายกรัฐมนตรีโซมาเลีย
- ? – สตีเฟน เจ. ทาวน์เซนด์ นายพลสี่ดาวแห่งกองทัพบกสหรัฐ
- ? – ซับโลน ซีมินตอฟ พ่อค้าพรมและเจ้าของร้านอาหารชาวอัฟกัน
วันถึงแก่กรรม
แก้- 9 เมษายน - แฟรงก์ ลอยด์ ไรท์ สถาปนิกชาวอเมริกัน (เกิด พ.ศ. 2410)
- 14 ตุลาคม - เจ้าเพชรราช รัตนวงศา นายกรัฐมนตรีคนแรกของลาว