เวิลด์พอพิวลาร์ซองเฟสติวัล

เวิลด์พอพิวลาร์ซองเฟสติวัล (อังกฤษ: World Popular Song Festival; ญี่ปุ่น: 世界歌謡祭โรมาจิSekai Kayōsai) หรือ ยามาฮ่ามิวสิกเฟสติวัล (อังกฤษ: Yamaha Music Festival) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อเล่น "ยูโรวิชันตะวันออก" เป็นเวทีประกวดเพลงนานาชาติที่จัดขึ้นตั้งแต่ปี 1970 ถึงปี 1989 จัดขึ้นโดยมูลนิธิดนตรียามาฮ่าในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น โดยการประกวดมีจุดประสงค์ในการให้ความสุขแก่ผู้คนผ่านเสียงดนตรี อันเนื่องจากอิทธิพลของผู้คนในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ปัญหาทางการเมืองและภาวะเศรษฐกิจของญี่ปุ่นในช่วงทศวรรษที่ 1970

เวิลด์พอพิวลาร์ซองเฟสติวัล
(ยามาฮ่ามิวสิกเฟสติวัล)
นิปปงบูโดกัง สถานที่จัดการประกวด
ที่ตั้งโตเกียว ญี่ปุ่น
ช่วงปี1970 – 1989
ผู้ก่อตั้งมูลนิธิดนตรียามาฮ่า
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการโดยมูลนิธิดนตรียามาฮ่า

การประกวดถูกหยุดไปหนึ่งครั้งจากเหตุการณ์การสวรรคตขององค์จักรพรรดิฮิโรฮิโตะ ในปี 1988 ในปี 1989 เวทีการประกวดได้เปลี่ยนไปเป็นคอนเสิร์ตเพื่อการกุศลร่วมกับยูนิเซฟ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของเวทีนี้ และเวทีได้ยุติลง

ประเทศไทยเคยตัวส่งประกวด 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ปี 1981 เพลง Happiness ขับร้องโดย นัดดา วิยกาญจน์ ครั้งที่ 2 ปี 1982 เพลง Love Is The Answer ขับร้องโดย มณีนุช เสมรสุต และครั้งที่ 3 ปี 1985 เพลง Reality ขับร้องโดย โอสถ ประยูรเวช และ วิยะดา โกมารกุล ณ นคร

การเข้าร่วมและผู้ชนะ

แก้
ปี วันที่ จำนวนประเทศที่เข้าร่วม ประเทศที่เข้าร่วมใหม่ ประเทศที่ไม่เข้าร่วมในปีนี้ ประเทศที่กลับมาเข้าร่วมใหม่ ประเทศที่ชนะ
1970 20 - 22 พฤศจิกายน 38   กรีซ
  เกาหลีใต้
  แคนาดา
  ชิลี
  เชโกสโลวาเกีย
  ญี่ปุ่น
  เดนมาร์ก
  นิวซีแลนด์
  เนเธอร์แลนด์
  เบลเยียม
  โบลิเวีย
  โปรตุเกส
  โปแลนด์
  ฝรั่งเศส
  ฟินแลนด์
  ฟิลิปปินส์
  มอลตา
  มาเลเซีย
  เม็กซิโก
  ยูโกสลาเวีย
  เยอรมนีตะวันตก
  รัฐพักรบ
  โรมาเนีย
  เวียดนามใต้
  สเปน
  สวิตเซอร์แลนด์
  สวีเดน
  สหรัฐอเมริกา
  สหราชอาณาจักร
  สิงคโปร์
  ออสเตรเลีย
  ออสเตรีย
  อาร์เจนตินา
  อิตาลี
  อิสราเอล
  แอฟริกาใต้
  ฮ่องกง
  ฮังการี
- -   อิสราเอล
1971 25 - 27 พฤศจิกายน 39   จาเมกา
  ซีลอน
  ตุรกี
  ปากีสถาน
  เวเนซุเอลา
  อินโดนีเซีย
  อุรุกวัย
  ไอร์แลนด์
  เชโกสโลวาเกีย
  เดนมาร์ก
  โบลิเวีย
  เยอรมนีตะวันตก
  รัฐพักรบ
  เวียดนามใต้
  สิงคโปร์
-   ญี่ปุ่น
  ฝรั่งเศส
1972 17 - 19 พฤศจิกายน 36    กูราเซา
  ไนจีเรีย
  บัลแกเรีย
  ไอซ์แลนด์
  ตุรกี
  ปากีสถาน
  ฟินแลนด์
  ฟิลิปปินส์
  เม็กซิโก
  โรมาเนีย
  อิสราเอล
  อุรุกวัย
  ไอร์แลนด์
  เชโกสโลวาเกีย
  เยอรมนีตะวันตก
  จาเมกา
  สหราชอาณาจักร
1973 16 - 18 พฤศจิกายน 31   เยอรมนีตะวันออก    กูราเซา
  เกาหลีใต้
  จาเมกา
  ชิลี
  เชโกสโลวาเกีย
  ไนจีเรีย
  บัลแกเรีย
  โปรตุเกส
  มอลตา
  มาเลเซีย
  ไอซ์แลนด์
  ตุรกี
  ฟินแลนด์
  ฟิลิปปินส์
  เม็กซิโก
  เวียดนามใต้
  ญี่ปุ่น
  สหรัฐอเมริกา
  สหราชอาณาจักร
  อิตาลี
1974 15 - 17 พฤศจิกายน 32   คิวบา
  โคลอมเบีย
  บราซิล
  นอร์เวย์
  ตุรกี
  โปแลนด์
  เม็กซิโก
  ยูโกสลาเวีย
  เยอรมนีตะวันออก
  เวียดนามใต้
  ศรีลังกา
  สเปน
  แอฟริกาใต้
  เกาหลีใต้
  ชิลี
  เดนมาร์ก
  มอลตา
  โรมาเนีย
  อิสราเอล
  ญี่ปุ่น
  นอร์เวย์
1975 14 - 16 พฤศจิกายน 31   ลักเซมเบิร์ก   แคนาดา
  โคลอมเบีย
  เดนมาร์ก
  นอร์เวย์
  เบลเยียม
  บราซิล
  ฟินแลนด์
  ฟิลิปปินส์
  โรมาเนีย
  สวีเดน
  เชโกสโลวาเกีย
  โปแลนด์
  โปรตุเกส
  เม็กซิโก
  ยูโกสลาเวีย
  สเปน
  สิงคโปร์
  ไอร์แลนด์
  ญี่ปุ่น
  เม็กซิโก
1976 19 - 21 พฤศจิกายน 30   โมนาโก
  สหภาพโซเวียต
  เกาหลีใต้
  คิวบา
  เชโกสโลวาเกีย
  ชิลี
  นิวซีแลนด์
  โปรตุเกส
  เม็กซิโก
  ลักเซมเบิร์ก
  เวเนซุเอลา
  สิงคโปร์
  ออสเตรีย
  ฮังการี
  โคลอมเบีย
  ตุรกี
  เบลเยียม
  บราซิล
  ฟินแลนด์
  ฟิลิปปินส์
  เยอรมนีตะวันออก
  โรมาเนีย
  ศรีลังกา
  ญี่ปุ่น
  อิตาลี
1977 11 - 13 พฤศจิกายน 24   ปารากวัย   กรีซ
  โคลอมเบีย
  เนเธอร์แลนด์
  โปแลนด์
  มอลตา
  โมนาโก
  ยูโกสลาเวีย
  เยอรมนีตะวันออก
  โรมาเนีย
  ศรีลังกา
  สหภาพโซเวียต
  อาร์เจนตินา
  อิสราเอล
  ไอร์แลนด์
  เกาหลีใต้
  แคนาดา
  เชโกสโลวาเกีย
  เดนมาร์ก
  นิวซีแลนด์
  บัลแกเรีย
  เม็กซิโก
  ญี่ปุ่น
  สหราชอาณาจักร
1978 9 - 11 พฤศจิกายน 22 -   แคนาดา
  ตุรกี
  บัลแกเรีย
  เบลเยียม
  ปารากวัย
  ฟินแลนด์
  ฟิลิปปินส์
  เยอรมนีตะวันตก
  กรีซ
  ชิลี
  เนเธอร์แลนด์
  เยอรมนีตะวันออก
  ออสเตรีย
  ไอร์แลนด์
  ญี่ปุ่น
  สหราชอาณาจักร
1979 10 - 12 พฤศจิกายน 20   เปรู   กรีซ
  เกาหลีใต้
  ชิลี
  เดนมาร์ก
  เยอรมนีตะวันออก
  สวิตเซอร์แลนด์
  ออสเตรีย
  ไอร์แลนด์
  นอร์เวย์
  เบลเยียม
  เยอรมนีตะวันตก
  อาร์เจนตินา
  ฮังการี
  ญี่ปุ่น
  สหราชอาณาจักร
1980 14 - 16 พฤศจิกายน 19 -   นิวซีแลนด์
  เนเธอร์แลนด์
  เม็กซิโก
  เยอรมนีตะวันตก
  ฮ่องกง
  ฮังการี
  เกาหลีใต้
  แคนาดา
  จาเมกา
  โรมาเนีย
  สิงคโปร์
  ญี่ปุ่น
  สหรัฐอเมริกา
1981 30 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 20   ไทย
  เลบานอน
  เกาหลีใต้
  จาเมกา
  นอร์เวย์
  เบลเยียม
  บราซิล
  เปรู
  โรมาเนีย
  สเปน
  สิงคโปร์
  อาร์เจนตินา
  คิวบา
  นิวซีแลนด์
  เนเธอร์แลนด์
  โปรตุเกส
  เม็กซิโก
  เยอรมนีตะวันตก
  เยอรมนีตะวันออก
  เวเนซุเอลา
  ออสเตรีย
  ญี่ปุ่น
  คิวบา
1982 29 - 31 ตุลาคม 21   ไต้หวัน   คิวบา
  เชโกสโลวาเกีย
  โปรตุเกส
  เลบานอน
  เยอรมนีตะวันตก
  เยอรมนีตะวันออก
  เวเนซุเอลา
  ออสเตรีย
  จาเมกา
  ชิลี
  เบลเยียม
  บราซิล
  สเปน
  สวีเดน
  อิสราเอล
  ไอร์แลนด์
  ญี่ปุ่น
  สหรัฐอเมริกา
1983 29 - 30 ตุลาคม 18 -   จาเมกา
  ไต้หวัน
  ไทย
  นิวซีแลนด์
  เบลเยียม
  บราซิล
  สเปน
  สวีเดน
  อิสราเอล
  ไอร์แลนด์
  กรีซ
  เกาหลีใต้
  เชโกสโลวาเกีย
  เปรู
  เยอรมนีตะวันตก
  อาร์เจนตินา
  ฮังการี
  ญี่ปุ่น
  ฮังการี
1984 27 - 28 ตุลาคม 16 -   กรีซ
  เกาหลีใต้
  ชิลี
  เชโกสโลวาเกีย
  เนเธอร์แลนด์
  เปรู
  อาร์เจนตินา
  โบลิเวีย
  บราซิล
  โปรตุเกส
  สเปน
  ฮ่องกง
  ญี่ปุ่น
  แคนาดา
1985 26 - 27 ตุลาคม 16   จีน   โบลิเวีย
  เยอรมนีตะวันตก
  สเปน
  ออสเตรเลีย
  ฮังการี
  ฮ่องกง
  กรีซ
  เดนมาร์ก
  ไทย
  เนเธอร์แลนด์
  อาร์เจนตินา
  ญี่ปุ่น
  อาร์เจนตินา
1986 26 ตุลาคม 12 -   กรีซ
  เดนมาร์ก
  ไทย
  เนเธอร์แลนด์
  โปรตุเกส
  อาร์เจนตินา
  นอร์เวย์
  เบลเยียม
  ญี่ปุ่น
  สหรัฐอเมริกา
1987 31 ตุลาคม 13 -   จีน
  บราซิล
  ฝรั่งเศส
  เนเธอร์แลนด์
  เยอรมนีตะวันตก
  ออสเตรเลีย
  ฮังการี
  ญี่ปุ่น
  ออสเตรเลีย
1988 28 ตุลาคม 12 -   นอร์เวย์
  เนเธอร์แลนด์
  เบลเยียม
  อินโดนีเซีย
  ฮังการี
  จีน
  ฝรั่งเศส
  เยอรมนีตะวันออก
  ฮ่องกง
ไม่มีการตัดสินเนื่องจากเหตุการณ์การสวรรตคตของจักรพรรดิฮิโรฮิโตะ
1989 27 ตุลาคม 10 -   จีน
  ฝรั่งเศส
  เยอรมนีตะวันตก
  เยอรมนีตะวันออก
  ฮ่องกง
  บราซิล
  เวเนซุเอลา
  แอฟริกาใต้
  ฮังการี
คอนเสิร์ตเพื่อการกุศลร่วมกับยูนิเซฟ

จำนวนครั้งที่แต่ละประเทศชนะการประกวด

แก้
จำนวนครั้งที่ชนะ ประเทศ ปีที่ชนะ
16   ญี่ปุ่น 1971, 1973, 1974, 1975, 1976, 1977, 1978, 1979, 1980, 1981, 1982, 1983, 1984, 1985, 1986, 1987
5   สหราชอาณาจักร 1972, 1973, 1977, 1978, 1979
4   สหรัฐอเมริกา 1973, 1980, 1984, 1986
2   อิตาลี 1973, 1976
1   อิสราเอล 1970
  ฝรั่งเศส 1971
  จาเมกา 1972
  นอร์เวย์ 1974
  เม็กซิโก 1975
  คิวบา 1981
  ฮังการี 1983
  แคนาดา 1984
  อาร์เจนตินา 1985
  ออสเตรเลีย 1987

รายชื่อผู้ชนะ

แก้
ปี ประเทศ ชื่อเพลง ศิลปิน
1970   อิสราเอล Ani Holem Al Naomi Hedva & David
1971   ญี่ปุ่น Tabidachi No Uta Tsunehiko Kamijo & Rokumonsen
  ฝรั่งเศส Un Jour l'Amour Martine Clémenceau
1972   จาเมกา Life is Just for Livin' Ernie Smith
  สหราชอาณาจักร Feeling Capricorn
1973   ญี่ปุ่น Anata Akiko Kosaka
  สหรัฐอเมริกา All the Kings and Castles Shawn Phillips
  สหราชอาณาจักร Head over Heels Keeley Ford
  อิตาลี Parigi a Volte Cosa Fa Gilda Giuliani
1974   ญี่ปุ่น Itsuno-Manika Kimiwa Yoshimi Hamada
  นอร์เวย์ You Made Me Feel I Could Fly Ellen Nikolaysen
1975   ญี่ปุ่น Jidai Miyuki Nakajima
  เม็กซิโก Lucky Man Mister Loco
1976   ญี่ปุ่น Goodbye Morning Sandii
  อิตาลี Amore Mio Franco & Regina
1977   ญี่ปุ่น Anta no Ballade Masanori Sera and Twist
  สหราชอาณาจักร Can't Hide My Love Rags
1978   ญี่ปุ่น Musoubana Hiroshi Madoka
  สหราชอาณาจักร Love Rocks Tina Charles
1979   ญี่ปุ่น Daitokai Crystal King
  สหราชอาณาจักร Sitting on the Edge of the Ocean Bonnie Tyler
1980   ญี่ปุ่น Machi ga nai teta Tetsuya Itami & Side By Side
  สหรัฐอเมริกา What's The Use Mary MacGregor
1981   ญี่ปุ่น Kanzen Muketsu No Rock 'n' Roller Aladdin
  คิวบา Digamos Que Mas Da Osvaldo Rodríguez
1982   ญี่ปุ่น Hananusubito Asuka
  สหรัฐอเมริกา Where Did We Go Wrong Anne Bertucci
1983   ญี่ปุ่น Fuyu no hana Makow
  ฮังการี Time Goes By Neoton Família
1984   ญี่ปุ่น Fura re kibun de Rock' n' Roll TOMCAT
  แคนาดา Party Lights France Joli
1985   ญี่ปุ่น Yoko Kazuyuki Ozaki & Coastal City
  อาร์เจนตินา Rompecabezas Valeria Lynch
1986   ญี่ปุ่น Ashita-iki no ressha Kenji Ono
  สหรัฐอเมริกา Longshot Stacy Lattisaw
1987   ญี่ปุ่น No, No, No Chika Takeuchi
  ออสเตรเลีย Take on the World Pseudo Echo

ดูเพิ่มเติม

แก้

แหล่งอ้างอิง

แก้
  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการโดยมูลนิธิดนตรียามาฮ่า
  • "ยามาฮ่ามิวสิก". สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2022.
  • "Wonder Sings for UNICEF" (PDF), Music & Media, สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2022
  • "World Popular Song Festival" (PDF), Siam Music Club, สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2022

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้