สโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
สโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส เป็นสโมสรวอลเลย์บอลอาชีพหญิงในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี โดยทีมนี้เคยเข้าแข่งขันในวอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก มีนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยร่วมทีมหลายคน ได้แก่ พรพรรณ เกิดปราชญ์ จรัสพร บรรดาศักดิ์ และปลื้มจิตร์ ถินขาว ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีม ปัจจุบันยุบทีมแล้ว
ชื่อเต็ม | สโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส | ||
---|---|---|---|
ชื่อสั้น | บีจี | ||
ฉายา | กระต่ายแก้ว | ||
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2557 | ||
ยุบ | พ.ศ. 2561 | ||
สนาม | บีจี ฮอลล์ จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย (ความจุ: 4,000 คน) | ||
ประธาน | ปวิณ ภิรมย์ภักดี | ||
ผู้จัดการ | กิตติศักดิ์ จิรภาสุขสกุล | ||
ลีก | วอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก | ||
2017–18 | อันดับที่ 3 (ฤดูกาลสุดท้าย) | ||
เว็บไซต์ | โฮมเพจสโมสร | ||
เครื่องแบบ | |||
|
ทีมของบางกอกกล๊าส | ||
---|---|---|
ฟุตบอล (ชาย) | ฟุตบอลบี (ชาย) | |
ฟุตซอล (ชาย) | อีสปอร์ต |
ประวัติสโมสร
แก้สโมสรวอลเลย์บอล บางกอกกล๊าส ภายใต้การบริหารจัดการของบริษัท บีจีเอฟซี สปอร์ต จำกัด ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2557 ด้วยปณิธานของคณะผู้บริหารที่ต้องการส่งเสริมอาชีพในสายกีฬาในหลากหลายประเภทให้มีความเป็นมืออาชีพและร่วมพัฒนาวงการกีฬาของประเทศให้เติบโตอย่างยั่งยืนให้เป็นที่ยอมรับและสามารถเทียบชั้นในระดับสากล เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดนั้น สโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส จึงถูกวางรากฐานอย่างมั่นคง โดยการสร้างทีมอย่างมีกลยุทธ์ ด้วยการรวมทีมงานคุณภาพระดับมืออาชีพ ทั้งทีมบริหาร ทีมผู้ฝึกสอน และตัวผู้เล่น เพื่อความแข็งแกร่งเป็นหนึ่งเดียวพร้อมก้าวสู่ความสำเร็จสูงสุดร่วมกัน
โดยการแข่งขันรายการแรกที่สโมสรสโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส เข้าร่วมในปีแรก คือ วอลเลย์บอลดิวิชั่น 1 (โปรชาเลนจ์) ที่มีรอบการแข่งขันในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 ด้วยผลงานที่โดดเด่น ทีมบางกอกกล๊าสจึงสามารถทำผลงานยอดเยี่ยมได้แชมป์มาครอง และติดอันดับเลื่อนชั้นสู่การแข่งขันถ้วยสูงสุด วอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก 2014-2015 ซึ่งเป็นการสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งและมั่นคงประจักษ์ต่อทุกสายตา และเป็นจุดเริ่มต้นของความสำเร็จที่จะมีมาอย่างต่อเนื่องของสโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 ทางสโมสรได้ประกาศยุติการทำทีมอย่างเป็นทางการ เนื่องจากทางสโมสรได้เล็งเห็นว่านโยบายการสนับสนุนให้เป็นกีฬาอาชีพที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน ซึ่งไม่สอดคล้องกับการส่งเสริมการทำธุรกิจกีฬาวอลเลย์บอล[1] และได้โอนสิทธิ์การเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีกในฤดูกาล 2018–19 ให้กับสโมสรวอลเลย์บอลหญิงแอร์ฟอร์ซ
รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน
แก้ข้อมูลอัปเดต ณ มีนาคม พ.ศ. 2561
รายชื่อผู้เล่นฤดูกาล 2017–2018 | |||||
---|---|---|---|---|---|
หมายเลข | ผู้เล่น | ตำแหน่ง | ส่วนสูง (ม.) | วันเกิด | |
1 | มลิวรรณ ปราบณรงค์ | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | 1.73 | 27 สิงหาคม ค.ศ. 1990 | |
3 | สุทัตตา เชื้อวู้หลิม | ตัวตบหัวเสา | 1.72 | 19 ธันวาคม ค.ศ. 1992 | |
4 | วิรวรรณ สัตยานุชิต | ตัวตบหัวเสา | 1.77 | 7 เมษายน ค.ศ. 1993 | |
5 | ปลื้มจิตร์ ถินขาว | ตัวบล็อกกลาง | 1.80 | 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1983 | |
6 | ธิดารัตน์ เพ็ญวิชัย | ตัวตบหัวเสา | 1.78 | 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 | |
7 | แอนนา มาเรีย สปาโน | ตัวตบหัวเสา | 1.88 | 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 | |
8 | พิมพ์พิลา หมึกขุนทด | ตัวตบหัวเสา | 1.70 | 20 กันยายน ค.ศ. 1996 | |
9 | จรัสพร บรรดาศักดิ์ | ตัวบล็อกกลาง | 1.81 | 1 มีนาคม ค.ศ. 1993 | |
10 | จุฑารัตน์ มูลตรีพิลา | ตัวตบหัวเสา | 1.75 | 2 ตุลาคม ค.ศ. 1986 | |
11 | พรพรรณ เกิดปราชญ์ | ตัวเซต | 1.73 | 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 | |
12 | คารีน่า เคร้าเซอ | ตัวบล็อกกลาง | 1.77 | 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 | |
13 | วิฑิตา บาลี | ตัวเซต | 1.70 | 27 มีนาคม ค.ศ. 1991 | |
14 | รัศมี สุพะมูล | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | 1.80 | 10 มกราคม ค.ศ. 1992 | |
15 | ฑิฆัมพร ช้างเขียว | ตัวรับอิสระ | 1.68 | 12 ธันวาคม ค.ศ. 1984 | |
16 | วรรณา บัวแก้ว | ตัวรับอิสระ | 1.72 | 2 มกราคม ค.ศ. 1981 | |
17 | วนิดา โคตรเรือง | ตัวตบหัวเสา | 1.70 | 29 มิถุนายน ค.ศ. 1990 | |
18 | อนงค์พร พรหมรัด | ตัวบล็อกกลาง | 1.80 | 2 มีนาคม ค.ศ. 1992 | |
19 | ภัทราทิพย์ แสนตระกูล | ตัวเซต | 1.67 | 17 มิถุนายน ค.ศ. 1996 | |
21 | อำพร หญ้าผา | ตัวบล็อกกลาง | 1.82 | 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1985 |
รายชื่อผู้เล่นฤดูกาล 2016–2017 | |||||
---|---|---|---|---|---|
หมายเลข | ผู้เล่น | ตำแหน่ง | ส่วนสูง (ม.) | วันเกิด | |
1 | มลิวรรณ ปราบณรงค์ | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | 1.73 | 27 สิงหาคม ค.ศ. 1990 | |
2 | ฐิตาภา ทองสีดี | ตัวเซต | 1.73 | 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 | |
3 | สุทัตตา เชื้อวู้หลิม | ตัวตบหัวเสา | 1.72 | 19 ธันวาคม ค.ศ. 1992 | |
4 | วิรวรรณ สัตยานุชิต | ตัวตบหัวเสา | 1.77 | 7 เมษายน ค.ศ. 1993 | |
5 | ปลื้มจิตร์ ถินขาว | ตัวบล็อกกลาง | 1.80 | 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1983 | |
6 | ธิดารัตน์ เพ็ญวิชัย | ตัวตบหัวเสา | 1.78 | 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 | |
8 | พิมพ์พิลา หมึกขุนทด | ตัวตบหัวเสา | 1.70 | 20 กันยายน ค.ศ. 1996 | |
9 | จรัสพร บรรดาศักดิ์ | ตัวบล็อกกลาง | 1.81 | 1 มีนาคม ค.ศ. 1993 | |
10 | จุฑารัตน์ มูลตรีพิลา | ตัวตบหัวเสา | 1.75 | 2 ตุลาคม ค.ศ. 1986 | |
11 | พรพรรณ เกิดปราชญ์ | ตัวเซต | 1.73 | 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 | |
12 | คารีน่า เคร้าเซอ | ตัวบล็อกกลาง | 1.77 | 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 | |
13 | วิฑิตา บาลี | ตัวเซต | 1.70 | 27 มีนาคม ค.ศ. 1991 | |
14 | รัศมี สุพะมูล | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | 1.80 | 10 มกราคม ค.ศ. 1992 | |
15 | ฑิฆัมพร ช้างเขียว | ตัวรับอิสระ | 1.68 | 12 ธันวาคม ค.ศ. 1984 | |
16 | แอชลีย์ เฟรเซอร์ | ตัวตบหัวเสา | 1.89 | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1989 | |
17 | วนิดา โคตรเรือง | ตัวตบหัวเสา | 1.70 | 29 มิถุนายน ค.ศ. 1990 | |
18 | อนงค์พร พรหมรัด | ตัวบล็อกกลาง | 1.80 | 2 มีนาคม ค.ศ. 1992 | |
19 | ภัทราทิพย์ แสนตระกูล | ตัวเซต | 1.67 | 17 มิถุนายน ค.ศ. 1996 | |
20 | เหงียน ถิ หง็อก ฮวา | ตัวบล็อกกลาง | 1.83 | 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987 |
เกียรติประวัติและผลงาน
แก้การแข่งขันระดับประเทศ
แก้- อันดับที่ 3 (1) : 2016
การแข่งขันระดับนานาชาติ
แก้- 2016 – อันดับที่ 7
ผลการแข่งขันลีก
แก้ลีก | อันดับที่ | จำนวนทีม | แมตช์ | ชนะ | แพ้ | |
ไทยแลนด์ลีก | 2014–15 | ชนะเลิศ | 8 | 14 | 12 | 2 |
2015–16 | ชนะเลิศ | 8 | 14 | 14 | 0 | |
2016–17 | รองชนะเลิศ | 8 | 14 | 12 | 2 | |
2017–18 | 3 | 8 | 14 | 10 | 4 |
โค้ช
แก้- กิตติพงศ์ พรชาติยิ่งชีพ (พ.ศ. 2557 – 2560)
- ดนัย ทิพย์เสถียร (พ.ศ. 2560 – 2561)[4]
ผู้เล่นนำเข้า
แก้ฤดูกาล | หมายเลข | ผู้เล่น | ตำแหน่ง | ประเทศ | รายการที่ร่วมแข่งขัน | |||
ไทยแลนด์ลีก | ซูเปอร์ลีก | ชิงแชมป์เอเชีย | ||||||
เลก 1 | เลก 2 | |||||||
2014–15 | 20 | เหงียน ถิ หง็อก ฮวา | ตัวบล็อกกลาง | เวียดนาม | ✔ | – | ✔ | |
21 | อเล็กซานดรา เซอร์ซิซ | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | เซอร์เบีย | – | ✔ | – | ||
6 | นะโอะโกะ ฮะชิโมะโตะ | ตัวเซต | ญี่ปุ่น | – | ✔ | – | ||
2015–16 | 20 | เหงียน ถิ หง็อก ฮวา | ตัวบล็อกกลาง | เวียดนาม | ✔ | – | ✔ | |
6 | จัน ธิ ธาน ธุย | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | – | ✔ | – | |||
4 | จอร์แดน สก๊อตต์ | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | สหรัฐ | – | ✔ | – | ||
16 | แอชลีย์ เฟรเซอร์ | ตัวตบหัวเสา | – | ✔ | ||||
2016–17 | 20 | เหงียน ถิ หง็อก ฮวา | ตัวบล็อกกลาง | เวียดนาม | ✔ | – | ||
16 | แอชลีย์ เฟรเซอร์ | ตัวตบหัวเสา | สหรัฐ | ✔ | – | |||
2017–18 | 20 | ซอนย่า มิคิสโควา | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา | เช็กเกีย | ✔ | – | ||
7 | แอนนา มาเรีย สปาโน | ตัวตบหัวเสา | กรีซ | ✔ | – |
อดีตผู้เล่น
แก้
|
|
อ้างอิง
แก้- ↑ thairath. "แน่นอนแล้ว! บีจีวีซี ประกาศยุติการทำทีม". สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ thaipbs. ""บางกอกกล๊าส วีซี" คว้าแชมป์วอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย". สืบค้นเมื่อ 4 January 2018.
- ↑ bugaboo.tv. "บางกอกกล๊าส วีซี ซิวอันดับ 3 ชิงแชมป์สโมสรเอเชีย". สืบค้นเมื่อ 4 January 2018.
- ↑ thairath. "สุดยิ่งใหญ่! 'บีจีวีซี' เปิดตัวสู้ศึกวอลเลย์บอลลีกฤดูกาล 2017-18". สืบค้นเมื่อ 4 January 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ เก็บถาวร 2016-04-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน