สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่
จังหวัดแพร่ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดแพร่ | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 3 |
คะแนนเสียง | 108,026 (เพื่อไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (3) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดแพร่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 7 สมัย ได้แก่ นายดุสิต รังคสิริ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดแพร่ คือ คุณหญิงเจ้าบัวเขียว รังคสิริ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2518)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- เอื้ออภิญญกุล (3 คน) ได้แก่ นายเมธา เอื้ออภิญญกุล นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล และนางปานหทัย เสรีรักษ์ (สกุลเดิม เอื้ออภิญญกุล)
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | |||
พ.ศ. 2518 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงษ์) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสอง, อำเภอร้องกวาง, อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงษ์) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลอง, อำเภอวังชิ้น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) |
3 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 3 คน (เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสอง, อำเภอร้องกวาง, อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลอง, อำเภอวังชิ้น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) |
3 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองแพร่, อำเภอหนองม่วงไข่, อำเภอร้องกวาง และอำเภอสอง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลอง, อำเภอสูงเม่น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอวังชิ้น |
2 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสอง, อำเภอร้องกวาง, อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลอง, อำเภอวังชิ้น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) |
3 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายทอง กันทาธรรม |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายทอง กันทาธรรม |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายวิภาต บุญศรี วังซ้าย (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายวัง ศศิบุตร |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | นายวัง ศศิบุตร |
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายทอง กันทาธรรม | นายวัง ศศิบุตร |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายไชย วงศ์สว่าง | |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | นายผจญ ผาทอง | นายสุธรรม สายศร |
ชุดที่ 11–20; พ.ศ. 2518–2539
แก้- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคเสรีชน
- พรรคชาติไทย
- พรรครวมไทย
- พรรคกิจสังคม
- พรรครวมไทย → พรรคเอกภาพ
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | คุณหญิงบัวเขียว รังคสิริ | นายเมธา เอื้ออภิญญกุล | จ่าสิบเอก สมชาย อินทราวุธ |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | คุณหญิงบัวเขียว รังคสิริ | นายรัตน์ พนมขวัญ | นายนคร ตันจันทร์พงษ์ |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายณรงค์ วงศ์วรรณ | นายดุสิต รังคสิริ | นายพล วัชรปรีชา |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายณรงค์ วงศ์วรรณ | นายดุสิต รังคสิริ | นายพล วัชรปรีชา |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายณรงค์ วงศ์วรรณ | นายพล วัชรปรีชา (เสียชีวิต) | |
นายชูวิทย์ จิตรสกุล (แทนนายพล) | ||||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายณรงค์ วงศ์วรรณ | นายชูวิทย์ จิตรสกุล | |
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายณรงค์ วงศ์วรรณ | นายเมธา เอื้ออภิญญกุล | |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายณรงค์ วงศ์วรรณ | นายเมธา เอื้ออภิญญกุล | |
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู | ||
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายทศพร เสรีรักษ์ | นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายทศพร เสรีรักษ์ | |
2 | นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู | นายอนุวัธ วงศ์วรรณ |
3 | นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล ( / เลือกตั้งใหม่) | |
นางปานหทัย เสรีรักษ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | เขตเลือกตั้งที่ 3 |
ชุดที่ 24 | พ.ศ. 2554 | นางปานหทัย เสรีรักษ์ | นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล | นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล |
ชุดที่ 25 | พ.ศ. 2562 | นายเอกการ ซื่อทรงธรรม | นายกฤติเดช สันติวชิระกุล | ยุบเขต 3 |
ชุดที่ 26 | พ.ศ. 2566 | นายทศพร เสรีรักษ์ | นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล | นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล |
รูปภาพ
แก้-
เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์
-
นายทอง กันทาธรรม
-
คุณหญิงบัวเขียว รังคสิริ
-
นายเมธา เอื้ออภิญญกุล
-
นายชูวิทย์ จิตรสกุล
-
นายทศพร เสรีรักษ์
-
นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ สถาบันพระปกเกล้า. นักการเมืองถิ่นจังหวัดแพร่ กรุงเทพ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า. 2555
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- กรรมการการเลือกตั้งจังหวัดแพร่ เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน