สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์

จังหวัดบุรีรัมย์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดบุรีรัมย์
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต10
คะแนนเสียง389,929 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (10)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดบุรีรัมย์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงศักดิรณการ (นาค ปิตะเสน)

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์และอำเภอพุทไธสง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอประโคนชัยและอำเภอนางรอง
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอกระสัง และกิ่งอำเภอคูเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอประโคนชัย และกิ่งอำเภอหนองกี่
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก และอำเภอคูเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง และกิ่งอำเภอหนองกี่
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด และอำเภอประโคนชัย
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก และอำเภอคูเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง และอำเภอหนองกี่
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอประโคนชัย และกิ่งอำเภอปะคำ
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง และกิ่งอำเภอนาโพธิ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง, อำเภอหนองกี่, อำเภอละหานทราย, กิ่งอำเภอปะคำ และกิ่งอำเภอหนองหงส์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง, อำเภอบ้านกรวด และอำเภอประโคนชัย
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, กิ่งอำเภอหนองหงส์ และกิ่งอำเภอนาโพธิ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ และอำเภอหนองกี่
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย และอำเภอกระสัง
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอนาโพธิ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ และอำเภอหนองกี่
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย และอำเภอกระสัง
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอนาโพธิ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่ และกิ่งอำเภอโนนสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย, อำเภอกระสัง, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอพลับพลาชัย
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, กิ่งอำเภอโนนสุวรรณ และกิ่งอำเภอชำนิ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย, อำเภอกระสัง, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอพลับพลาชัย
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอชำนิ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนางรอง, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, อำเภอหนองหงส์ และกิ่งอำเภอโนนสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย และกิ่งอำเภอโนนดินแดง
10 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 3 และ เขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย, อำเภอห้วยราช, กิ่งอำเภอชำนิ และกิ่งอำเภอบ้านด่าน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนางรอง, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอโนนสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย และกิ่งอำเภอโนนดินแดง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลกลันทา ตำบลเมืองฝาง ตำบลสองห้อง ตำบลเสม็ด ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชำนิ, อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลป่าชัน), อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลเมืองฝาง ตำบลสองห้อง ตำบลเสม็ด ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต), อำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลสนาน ตำบลห้วยราช ตำบลสามแวง และตำบลห้วยราชา), อำเภอกระสัง (เฉพาะตำบลสองชั้น) และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลเมืองฝ้าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง (ยกเว้นตำบลสองชั้น), อำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลตาเสา ตำบลบ้านตะโก ตำบลโคกเหล็ก และตำบลเมืองโพธิ์) อำเภอสตึก (เฉพาะตำบลชุมแสง) อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลกลันทา) และกิ่งอำเภอบ้านด่าน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสตึก (ยกเว้นตำบลชุมแสง), อำเภอพุทไธสง (เฉพาะตำบลมะเฟืองและตำบลบ้านยาง), อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลปะเคียบ) และกิ่งอำเภอแคนดง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนาโพธิ์, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์, อำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลปะเคียบ) และอำเภอพุทไธสง (ยกเว้นตำบลมะเฟืองและตำบลบ้านยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำปลายมาศ และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคีและตำบลสระแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปะคำ, อำเภอโนนสุวรรณ, อำเภอหนองกี่ (ยกเว้นตำบลเมืองไผ่) และอำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลเมืองฝ้าย ตำบลไทยสามัคคี และตำบลสระแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนางรอง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอหนองกี่ (เฉพาะตำบลเมืองไผ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบ้านกรวด, อำเภอโนนดินแดง และอำเภอละหานทราย (ยกเว้นตำบลตาจง)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอละหานทราย (เฉพาะตำบลตาจง) และอำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลป่าชัน)
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอนางรอง, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, อำเภอชำนิ, อำเภอโนนสุวรรณ, อำเภอโนนดินแดง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอสตึก, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย และอำเภอบ้านกรวด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอห้วยราช, อำเภอบ้านด่าน และอำเภอแคนดง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอคูเมือง, อำเภอนาโพธิ์ และอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
10 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลสวายจีก ตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง และตำบลสะแกโพรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสตึก, อำเภอแคนดง (ยกเว้นตำบลสระบัว), อำเภอบ้านด่าน (ยกเว้นตำบลบ้านด่าน) และอำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลเมืองโพธิ์ ตำบลตาเสา และตำบลโคกเหล็ก)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพุทไธสง, อำเภอนาโพธิ์, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์, อำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลคูเมืองและตำบลพรสำราญ), อำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลบ้านด่าน) และอำเภอแคนดง (เฉพาะตำบลสระบัว)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลคูเมืองและตำบลพรสำราญ), อำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคีและตำบลเมืองฝ้าย) และอำเภอชำนิ (เฉพาะตำบลช่อผกา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลป่าชัน), อำเภอห้วยราช (ยกเว้นตำบลเมืองโพธิ์ ตำบลตาเสา และตำบลโคกเหล็ก) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสวายจีก)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอนางรอง, อำเภอชำนิ (ยกเว้นตำบลช่อผกา), อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลเจริญสุข) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสะแกโพรง ตำบลสองห้อง และตำบลเมืองฝาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอหนองกี่, อำเภอปะคำ, อำเภอโนนสุวรรณ และอำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคีและตำบลเมืองฝ้าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอบ้านกรวด, อำเภอโนนดินแดง และอำเภอละหานทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลป่าชัน) และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลเจริญสุข)
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลบัวทอง ตำบลกลันทา และตำบลถลุงเหล็ก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสตึก, อำเภอแคนดง, อำเภอบ้านด่าน และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลบัวทอง ตำบลกลันทา และตำบลถลุงเหล็ก)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาโพธิ์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์, อำเภอคูเมือง และอำเภอลำปลายมาศ (เฉพาะตำบลเมืองแฝกและตำบลโคกสะอาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอหนองหงส์, อำเภอชำนิ และอำเภอลำปลายมาศ (ยกเว้นตำบลเมืองแฝกและตำบลโคกสะอาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอห้วยราช, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย และอำเภอประโคนชัย (เฉพาะตำบลไพศาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอหนองกี่, อำเภอโนนสุวรรณ และอำเภอนางรอง (ยกเว้นตำบลทรัพย์พระยาและตำบลชุมแสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านกรวดและอำเภอประโคนชัย (ยกเว้นตำบลไพศาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอละหานทราย, อำเภอโนนดินแดง, อำเภอปะคำ และอำเภอนางรอง (เฉพาะตำบลทรัพย์พระยาและตำบลชุมแสง)
  8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลปราสาทและตำบลบ้านด่าน) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง ตำบลเสม็ด ตำบลอิสาณ ตำบลสวายจีก ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชำนิ, อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง ตำบลเสม็ด ตำบลอิสาณ ตำบลสวายจีก ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต), อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลโคกขมิ้นและตำบลป่าชัน) และอำเภอประโคนชัย (เฉพาะตำบลไพศาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอห้วยราช, อำเภอกระสัง และอำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลโคกขมิ้นและตำบลป่าชัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแคนดง, อำเภอสตึก และอำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลโนนขวางและตำบลวังเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนาโพธิ์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ และอำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลพรสำราญ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลพรสำราญ) และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคี ตำบลสระทอง และตำบลเสาเดียว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโนนสุวรรณ, อำเภอหนองกี่, อำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคี ตำบลสระทอง และตำบลเสาเดียว) และอำเภอปะคำ (ยกเว้นตำบลปะคำและตำบลหูทำนบ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนางรอง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลเจริญสุขและตำบลถาวร), อำเภอปะคำ (เฉพาะตำบลปะคำและตำบลหูทำนบ) และอำเภอโนนดินแดง (เฉพาะตำบลโนนดินแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอละหานทราย, อำเภอโนนดินแดง (ยกเว้นตำบลโนนดินแดง), อำเภอบ้านกรวด (ยกเว้นตำบลเขาดินเหนือ ตำบลหินลาด ตำบลโนนเจริญ และตำบลสายตะกู) และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลเจริญสุขและตำบลถาวร)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอประโคนชัย (ยกเว้นตำบลไพศาล) และอำเภอบ้านกรวด (เฉพาะตำบลเขาดินเหนือ ตำบลหินลาด ตำบลโนนเจริญ และตำบลสายตะกู)
  10 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481

แก้
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 หลวงศักดิรณการ (นาค ปิตะเสน)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายทัน พรหมมิทธิกุล
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489

แก้
      พรรคสหชีพ
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายพูน มณีวรรณ นายนคร ทินสิริกุล
2 ร้อยตรี กาจ อุตตรวิเชียร

ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2492

แก้
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา
นายไพรัช วิเศษโกสิน
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา
นายสอึ้ง มารังกูล

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคเสรีประชาธิปไตย
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายสอึ้ง มารังกูล
นายแถม วงศ์อำมาตย์ นายแถม วงศ์อำมาตย์
นายโต๊ะ แก้วเสมา

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายบุญเยี่ยม โสภณ
2 นายทองเจือ กัลพุมานุกูลกิจ
3 นายสวัสดิ์ คชเสนี
4 นายชัย ชิดชอบ
5 ร้อยโทกมล อัตนโถ

ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518

แก้
      พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคไท (พ.ศ. 2517)
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายประเสริฐ เลิศยะโส
นายจำลอง วงษ์ทอง
นายสมาน มณีราชกิจ
2 นายบุญเยี่ยม โสภณ
นายจรูญ ปราบริปูตลุง
นายปกรณ์ กุลกำจร

ชุดที่ 12–13; พ.ศ. 2519–2522

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
      พรรคประชาราษฎร์
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
      พรรคสยามประชาธิปไตย
เขต ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายบัญชา วัฒนวงศ์วิสุทธิ์ นายเนาว์ พฤทธิธรรมกูล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายดนัย นพสุวรรณวงศ์ นายชัย ชิดชอบ
นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ
2 นายสุนัย พงศ์อารยะ นายบุญเยี่ยม โสภณ
นายสมโภชน์ ศิริกุล นายวุฒินันท์ หลอดทอง
3 นายไพโรจน์ ติยะวาณิช นายณัฐ ชาติวัฒนศิริ
นายทองเจือ กัลพุมานุกูลกิจ นายพิชิต ธีระรัชตานนท์

ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ
นายสวัสดิ๋ คชเสนี
นายชัย ชิดชอบ
2 นายต่อสู้ ลัทธิกุล
นายบุญเยี่ยม โสภณ (เสียชีวิต)
นายไพโรจน์ ติยะวานิช (แทนนายบุญเยี่ยม)
นายโสภณ เพชรสว่าง
3 นายพิชิต ธีระรัชตานนท์
นายการุณ ใสงาม

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

แก้
      พรรคมวลชน
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคเสรีนิยม
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคมวลชนพรรคกิจสังคม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์
นายชัย ชิดชอบ นายวุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย นายวุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย นายชัย ชิดชอบ
นายพรเทพ เตชะไพบูลย์
2 นายวุฒนันท์ พงศ์อารยะ นายโสภณ เพชรสว่าง พันตำรวจเอก สุทธี คะสุวรรณ นายโสภณ เพชรสว่าง
นายต่อสู้ ลัทธิกุล นายมนัส เฮงยศมาก
นายไพโรจน์ ติยะวานิช นายประกิจ พลเดช
3 นายการุณ ใสงาม นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ
นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ นายทรงศักดิ์ ทองศรี นายทรงศักดิ์ ทองศรี
นายสวัสดิ์ คชเสนี นายเนวิน ชิดชอบ นายเนวิน ชิดชอบ นายเนวิน ชิดชอบ

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายเนวิน ชิดชอบ นายเนวิน ชิดชอบ
นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล
นายทรงศักดิ์ ทองศรี นางกรุณา ชิดชอบ
2 นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์
นายชัย ชิดชอบ นายชัย ชิดชอบ
นายพรเทพ เตชะไพบูลย์
3 นายโสภณ เพชรสว่าง
นายวัชรินทร์ ฉันทะกุล นายประกิจ พลเดช
4 นายการุณ ใสงาม นายทรงศักดิ์ ทองศรี
พันตำรวจเอกสุทธี คะสุวรรณ นายขจรธน จุดโต

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล
2 นางกรุณา ชิดชอบ นางกรุณา ชิดชอบ
3 นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
4 นายสุรศักดิ์ นาคดี
5 นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์   นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์
นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์
(แทนนายพีระพงษ์ /   )
นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์
(แทนนายปณวัตร)
6 นายโสภณ ซารัมย์ นายโสภณ ซารัมย์
7 นายประกิจ พลเดช
8 นายโสภณ เพชรสว่าง
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายโสภณ เพชรสว่าง
9 นายขจรธน จุดโต
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายขจรธน จุดโต
10 นายทรงศักดิ์ ทองศรี

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคภูมิใจไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาราช
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายประกิจ พลเดช   นายสมนึก เฮงวาณิชย์ (แทนนายประกิจ)
นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน   นายมาโนช เฮงยศมาก (แทนนายพรชัย)
นายรุ่งโรจน์ ทองศรี   นายณัฐวุฒิ สุขเกษม (แทนนายรุ่งโรจน์)
2 นายรังสิกร ทิมาตฤกะ
นายทรงศักดิ์ ทองศรี (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นายจักรกฤษณ์ ทองศรี (แทนนายทรงศักดิ์)
นายมนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ
3 นายสนอง เทพอักษรณรงค์
นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล
4 นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ (แทนนายปณวัตร)
นายโสภณ ซารัมย์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

แก้
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายสนอง เทพอักษรณรงค์
2 นายรังสิกร ทิมาตฤกะ
3 นายโสภณ ซารัมย์ นายสมบูรณ์ ซารัมย์
4 นางอารีญาภรณ์ ซารัมย์ นายโสภณ ซารัมย์
5 นายมนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ นายอดิพงษ์ ฐิติพิทยา
6 นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน นายไตรเทพ งามกมล
7 นายหนูแดง วรรณกางซ้าย นายจักรกฤษณ์ ทองศรี
8 นายรุ่งโรจน์ ทองศรี
9 นายจักรกฤษณ์ ทองศรี ยุบเขต 9

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

แก้
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสนอง เทพอักษรณรงค์
2 นายไชยชนก ชิดชอบ
3 นายอดิพงษ์ ฐิติพิทยา
4 นายรังสิกร ทิมาตฤกะ
5 นายโสภณ ซารัมย์
6 นายศักดิ์ ซารัมย์
7 นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน
8 นายไตรเทพ งามกมล
9 นายรุ่งโรจน์ ทองศรี
10 นายจักรกฤษณ์ ทองศรี

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้