วัวโค่ว
วัวโค่ว (จีน: 倭寇; พินอิน: Wōkòu; ญี่ปุ่น: 倭寇; เฮปเบิร์น: Wakō; เกาหลี: 왜구; ฮันจา: 倭寇; อาร์อาร์: Waegu) แปลว่า "โจรสลัดญี่ปุ่น" เป็นโจรสลัดที่รุกรานพื้นที่ชายฝั่งประเทศจีนและประเทศเกาหลีในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17[1][2] วัวโค่วมาจากกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวเอเชียตะวันออก ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา และรุกรานแผ่นดินใหญ่จากหมู่เกาะในทะเลญี่ปุ่นและทะเลจีนตะวันออก[3] กิจกรรมของวัวโค่วในเกาหลีเสื่อมถอยลงหลังสนธิสัญญากเยแฮใน ค.ศ. 1443[1] แต่ยังคงปรากฏในจีนสมัยราชวงศ์หมิงและพุ่งขึ้นถึงจุดสูงสุดในการรุกรานของเจียจิ้งวัวโค่วช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 การตอบโต้ของจีนและการปราบปรามโจรสลัดที่เข้มงวดโดยเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นทำให้วัวโค่วหายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 17
วัวโค่ว | |||||||||||||||||||||||||||
ภาพวาดจีนในคริสต์ศตวรรษที่ 18 แสดงสงครามทางเรือระหว่างโจรสลัด วัวโค่ว กับชาวจีน | |||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 倭寇 | ||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||||||||||||
ฮันกึล | 왜구 | ||||||||||||||||||||||||||
ฮันจา | 倭寇 | ||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||||||||||||
คันจิ | 倭寇 | ||||||||||||||||||||||||||
คานะ | わこう | ||||||||||||||||||||||||||
|
ประวัติ
แก้ยุคโจรสลัดของวัวโค่วที่โดดเด่นมี 2 ช่วง วัวโค่วยุคแรกส่วนใหญ่ตั้งค่ายในหมู่เกาะรอบนอกของหมู่เกาะญี่ปุ่นในทะเลญี่ปุ่น ซึ่งต่างจากวัวโค่วในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ประชากรส่วนใหญ่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่น วัวโค่วยุคแรกนอกจากรุกรานจีนและเกาหลีแล้ว ยังรุกรานญี่ปุ่นด้วย[4]
คำว่าวัวโค่ว (倭寇) ปรากฏการใช้งานครั้งแรกสุดอยู่บนศิลาจารึกควังแกโทที่ประดิษฐานในบริเวณจี๋อาน มณฑลจี๋หลิน ประเทศจีนในปัจจุบัน เพื่อฉลองการแสวงหาประโยชน์ของพระเจ้าควังแกโทมหาราชแห่งโคกูรยอ (ค. 391 – 413) จารึกนี้ระบุว่า "วัวโค่ว" ("หัวขโมยญี่ปุ่น") ข้ามทะเลและถูกพระองค์ปราบจนพ่ายแพ้ใน ค.ศ. 404[5] วัวโค่ว เป็นคำประสมจากศัพท์ภาษาจีนสองคำ คือ วัว (倭) ที่อาจหมายถึงความแคระหรือคำที่ใช้เรียกชาวญี่ปุ่นในเชิงลบ และ โค่ว (寇) "โจร"[6][7]
วัวโค่วยุคแรก
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
วัวโค่วยุคหลัง
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Wakō Encyclopaedia Britannica
- ↑ Batten Bruce. "Gateway to Japan" 2006
- ↑ Kwan-wai So. Japanese piracy in Ming China, during the 16th century. Michigan State University Press, 1975. chapter 2.
- ↑ Wang Xiangrong, "Periodizing the History of Sino-Japanese Relations" Sino-Japanese Studies v. 2 (1980), 31
- ↑ Sansom, George (1961). A History of Japan, 1334–1615. Stanford University Press. p. 265. ISBN 978-0804705257.
- ↑ Prof. Wang Yong, "Realistic and Fantastic Images of 'Dwarf Pirates': The Evolution of Ming Dynasty Perceptions of the Japanese." In Prof. Joshua A. Fogel, ed., Sagacious Monks and Bloodthirsty Warriors: Chinese Views of Japan in the Ming-Qing Period (EastBridge, 2002), 17–41
- ↑ Prof. Douglas R. Howland. Borders of Chinese Civilization: Geography and History at Empire's End (Duke University Press Books, 1996), p. 22
ข้อมูล
แก้ข้อมูลปฐมภูมิ:
- Hŭi-gyŏng Song, Shōsuke Murai. Rōshōdō Nihon kōroku : Chōsen shisetsu no mita chūsei Nihon (老松堂日本行錄 : 朝鮮使節の見た中世日本) Iwanami Shoten, Tōkyō, 1987. ISBN 978-4-00-334541-2
- Zheng Ruohui, Zhouhai Tubian (籌海図編)
ข้อมูลทุติยภูมิ:
- Boxer, C.R. "Piracy in the South China Sea", History Today, XXX, 12 (December), pp. 40–44.
- Boxer, Charles Ralph; Pereira, Galeote; Cruz, Gaspar da; Rada, Martín de (1953), South China in the sixteenth century: being the narratives of Galeote Pereira, Fr. Gaspar da Cruz, O.P. [and] Fr. Martín de Rada, O.E.S.A. (1550–1575), Issue 106 of Works issued by the Hakluyt Society, Printed for the Hakluyt Society (Includes an English translation of Galeote Pereira's report and Gaspar da Cruz' book, with C.R. Boxer's comments)
- Elisonas, Jurgis (1991). "6 – The inseparable trinity: Japan's relations with China and Korea". ใน Hall, John Whitney; McClain, James L. (บ.ก.). The Cambridge History of Japan. Vol. 4. Cambridge Eng. New York: Cambridge University Press. pp. 235–300. ISBN 9780521223553.
- Higgins, Roland L. (1981). Piracy and coastal defense in the Ming period, government response to coastal disturbances, 1523–1549 (Ph.D.). University of Minnesota.
- So, Kwan-wai. Japanese Piracy in Ming China During the sixteenth Century. Michigan State University Press, East Lansing, 1975. ISBN 0-87013-179-6
- Turnbull, Stephen "Samurai: The World of the Warrior" Osprey Publishing, Oxford, 2003, pp. 155–57. ISBN 1-84176-740-9
Mann, C. C. (2011). 1493: Uncovering the new world Columbus created. Vintage.161-163
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- "Tribute and Trade", KoreanHistoryProject.org