รายนามเวิลด์เฮวีเวตแชมเปียนส์ (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)
บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ เป็นเข็มขัดระดับโลกรุ่นเฮฟวี่เวทที่เป็นกรรมสิทธิ์ของเวิลด์ เรสต์ลิง เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) โดยเป็นเข็มขัดระดับโลกเส้นที่ 3 ที่ได้ใช้งานในดับเบิลยูดับเบิลยูอีเมื่อปี ค.ศ. 2002 ภายหลังจากการซื้อกิจการสมาคมที่ล้มละลายอย่าง เวิลด์ แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (WCW) และเอ็กซ์ตรีม แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (ECW) และยกเลิกสถานะดับเบิลยูซีดับเบิลยู เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ (WCW World Heavyweight Championship) โดยนำมารวมกับดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ แชมเปียนชิพ (WWF Championship) กลายเป็นเข็มขัดเดี่ยว ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิพ (WWF Undisputed Championship) ซึ่งกลายเป็นกรรมสิทธิ์ของสแมคดาวน์ ภายหลังการขยายค่าย[1][2] ส่งผลให้รอว์ไม่มีเข็มขัดระดับโลกไว้ในครอบครอง ทำให้ เอริค บิชอฟฟ์ อดีตผู้บริหารและเจ้าของดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซึ่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของรอว์ในขณะนั้น[3] นำเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพออกมาใช้งาน ในปัจจุบัน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของ สแมคดาวน์
การครองเข็มขัดจะถูกตัดสินโดยการปล้ำในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ หรือถูกมอบให้โดยมีเหตุจูงใจเป็นต้น โดยนักมวยปล้ำจะมีบทแสดงเป็นฝ่ายธรรมะหรืออธรรม โดยเกิดความขัดแย้งและต่อสู้กันในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ เพื่อชิงเข็มขัดดังกล่าว ผู้ครองเข็มขัดนี้เป็นคนแรกคือ ทริปเปิล เอช ซึ่งเอริค บิชอฟฟ์มอบให้ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2002[3] โดยรวมมีผู้ครองเข็มขัดนี้ทั้งสิ้น 14 คน โดยมีจำนวน 28 สมัย ซึ่งทริปเปิล เอชก็เป็นผู้ครองเข็มขัดดังกล่าวมากสมัยที่สุดอีกด้วย (5 สมัย)
ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอีได้แถลงอย่างเป็นทางการว่า เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ ไม่ได้เป็นเข็มขัดเส้นเดียวกับ เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ (NWA World Heavyweight Championship) หรือดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ (WCW Championship) แม้ว่าจะมีความคล้ายคลึงกันโดยการที่เป็น "เข็มขัดทองขนาดใหญ่" เหมือนกัน จึงทำให้ประวัติความเป็นมาและผู้ครองเข็มขัดนั้นไม่สืบเนื่องหรือเกี่ยวโยงกัน[4] โดยเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพเป็นเพียงรุ่นถัดมาของดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ เหมือนที่มันเป็นรุ่นถัดมาของเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพนั่นเอง[5]
รายนามแชมเปียน
แก้ลำดับ | สมัย | รายนาม | วันที่ชนะ | สถานที่ | หมายเหตุ |
1 | 1 | ทริปเปิล เอช | 2 กันยายน ค.ศ. 2002 | มิลวอกี รัฐวิสคอนซิน | เอริค บิชอฟฟ์มอบเข็มขัดดังกล่าวในรอว์ ต่อมาเอาชนะเคนเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2002 ที่ลิตเทิลร็อก รัฐอาร์คันซอ และรวมอินเตอร์คอนทิเนนทัล แชมเปี้ยนชิพเข้าด้วยกันกับเข็มขัดโลก[6][7] |
2 | 1 | ชอว์น ไมเคิลส์ | 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 | นิวยอร์กซิตี้ รัฐนิวยอร์ก | ชนะในการแข่งขัน อีลิมิเนชั่น เชมเบอร์ครั้งแรกที่เซอร์ไวเวอร์ ซีรีส์ โดยมีทริปเปิล เอช, ร็อบ แวน แดม, บูเกอร์ ที, คริส เจริโคและเคน เข้าร่วมปล้ำด้วย[8] |
3 | 2 | ทริปเปิล เอช | 15 ธันวาคม ค.ศ. 2002 | ซันไรส์ รัฐฟลอริดา |
เป็นการปล้ำในรูปแบบทรี สเตจ ออฟ เฮลล์ ที่อาร์มาเก็ดดอน ประกอบด้วยรูปแบบสตรีทไฟท์ สตีลเคจและแลดเดอร์ โดยทริปเปิ้ล เอชเอาชนะในรอบแรกและรอบสุดท้ายได้[9] |
4 | 1 | โกลด์เบิร์ก | 21 กันยายน ค.ศ. 2003 | เฮอร์ชีย์ รัฐเพนซิลเวเนีย | ครองเข็มขัดหลังชนะที่อันฟอร์กิฟเว่น[10] |
5 | 3 | ทริปเปิล เอช | 14 ธันวาคม ค.ศ. 2003 | ออร์แลนโด รัฐฟลอริดา | เป็นการปล้ำรูปแบบ ทริปเปิ้ล เธรตที่อาร์มาเก็ดดอน โดยมีเคนร่วมปล้ำด้วย[11] |
6 | 1 | คริส เบนวา | 14 มีนาคม ค.ศ. 2004 | นิวยอร์กซิตี้ รัฐนิวยอร์ก | เป็นการปล้ำรูปแบบทริปเปิ้ล เธรตที่เรสเซิลเมเนีย XX โดยมีชอว์น ไมเคิลส์ร่วมปล้ำด้วย[12] |
7 | 1 | แรนดี ออร์ตัน | 15 สิงหาคม ค.ศ. 2004 | โตรอนโต รัฐออนแทริโอ |
ครองเข็มขัดหลังชนะที่ซัมเมอร์สแลม[13] |
8 | 4 | ทริปเปิล เอช | 12 กันยายน ค.ศ. 2004 | พอร์ตแลนด์ รัฐออริกอน |
ครองเข็มขัดหลังชนะที่อันฟอร์กิฟเว่น [14] |
ว่างลง | 6 ธันวาคม ค.ศ. 2004 | ชาร์ลอตต์ รัฐนอร์ทแคโรไลนา | ยกเลิกใช้ในรอว์ หลังการปล้ำรูปแบบ 3 เส้า ระหว่างทริปเปิล เอช, คริส เบนวาและเอดจ์ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่บอลทิมอร์ รัฐแมริแลนด์ และจบด้วยการชนะคู่ โดยเอดจ์จับเบนวากด ในขณะที่เบนวาต์บังคับให้เอดจ์ยอมแพ้[6][15] | ||
9 | 5 | ทริปเปิล เอช | 9 มกราคม ค.ศ. 2005 | San Juan PR | Triple H defeated Chris Benoit, Chris Jericho, Randy Orton, Batista, and Edge in an Elimination Chamber match with Shawn Michaels as Special Guest Referee to win the vacant championship. |
10 | 1 | บาทิสตา | 3 เมษายน ค.ศ. 2005 | Los Angeles CA | Batista was drafted to the SmackDown! brand as the pick on June 30, 2005, making the title SmackDown! exclusive. |
ว่างลง | 10 มกราคม ค.ศ. 2006 | Philadelphia PA | Batista vacated the title after he was sidelined with a legitimate triceps injury. This episode aired on tape delay on January 13, 2006. | ||
11 | 1 | เคิร์ต แองเกิล | 10 มกราคม ค.ศ. 2006 | Philadelphia PA | Angle won the vacant championship in a 20 man battle royal last eliminating Mark Henry. This episode aired on tape delay on January 13, 2006 |
12 | 1 | เรย์ มิสเตริโอ | 2 เมษายน ค.ศ. 2006 | Rosemont IL | This was a Triple Threat match also involving Randy Orton. Rey Mysterio also became the lightest World Heavyweight Champion. Also, title is referred to as the "World Championship" during this and any other time Mysterio will hold the championship |
13 | 1 | คิง บูเกอร์ | 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2006 | Indianapolis IN | |
14 | 2 | บาทิสตา | 16 กันยายน ค.ศ. 2006 | Philadelphia PA | This was a Last Chance match. |
15 | 1 | ดิอันเดอร์เทเกอร์ | 1 เมษายน ค.ศ. 2007 | Philadelphia PA | |
16 | 1 | เอดจ์ | 8 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 | Pittsburgh PA | Edge cashed in his Money in the Bank contract to earn the right to challenge for the title. Edge, a Raw wrestler at the time, transferred to the SmackDown! roster shortly after the win. This episode aired on tape delay on May 11, 2007. |
ว่างลง | 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 | Laredo TX | Edge vacated the title after he was sidelined with a legitimate pectoral injury. This episode aired on tape delay on July 20, 2007. | ||
17 | 1 | เดอะเกรทคาลี | 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 | Laredo TX | Khali won the vacant championship in a 20 man battle royal. This episode aired on tape delay on July 20, 2007. |
18 | 3 | บาทิสตา | 16 กันยายน ค.ศ. 2007 | Memphis TN | This was a Triple Threat match also involving Rey Mysterio. |
19 | 2 | เอดจ์ | 16 ธันวาคม ค.ศ. 2007 | Pittsburgh PA | This was a Triple Threat match also involving The Undertaker. |
20 | 2 | ดิอันเดอร์เทเกอร์ | 30 มีนาคม ค.ศ. 2008 | Orlando Floreda | This was a title vs streak match in which the Undertaker's Wrestlemania undefeated streak improved to 16-0. |
ว่างลง | 29 เมษายน ค.ศ. 2008 | Atlantic City NJ | SmackDown's General Manager Vickie Guerrero ordered The Undertaker to relinquish the title because of the danger that his Hell's Gate choke hold caused. This episode aired on tape delay on May 2, 2008. | ||
21 | 3 | เอดจ์ | 1 มิถุนายน ค.ศ. 2008 | San Diego CA | Edge defeated The Undertaker in a Tables, Ladders, and Chairs match to win the vacant title. |
22 | 1 | ซีเอ็ม พังก์ | 30 มิถุนายน ค.ศ. 2008 | Oklahoma City OK | Punk cashed in his Money in the Bank contract in order to challenge for the title. CM Punk was a part of the Raw brand, thus making the title Raw-exclusive again. |
23 | 1 | คริส เจอริโค | 7 กันยายน ค.ศ. 2008 | Cleveland OH | Originally, CM Punk was to defend his title in a Championship Scramble match also involving John "Bradshaw" Layfield, Batista, Rey Mysterio, and Kane, but he was replaced by Jericho, who won the match and championship as a result of Punk sustaining a scripted injury. |
24 | 4 | บาทิสตา | 26 ตุลาคม ค.ศ. 2008 | Phoenix AZ | This match involved Steve Austin as Special Guest Referee. |
25 | 2 | คริส เจอริโค | 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 | Tampa FL | This was a Steel Cage match. |
26 | 1 | จอห์น ซีนา | 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 | Boston MA | |
27 | 4 | เอดจ์ | 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 | Seattle WA | This was an Elimination Chamber match also involving Chris Jericho, Rey Mysterio, Mike Knox, and Kane. The title becomes SmackDown exclusive as a result of Edge being a part of the SmackDown roster. |
28 | 2 | จอห์น ซีนา | 5 เมษายน ค.ศ. 2009 | Houston TX | This was a Triple Threat match also involving The Big Show. Becomes exclusive to the Raw brand once again due to John Cena being a Raw brand wrestler. |
29 | 5 | เอดจ์ | 26 เมษายน ค.ศ. 2009 | Providence LA | This was a Triple Threat match also involving The Big Show. Becomes exclusive to the Raw brand once again due to John Cena being a Raw brand wrestler. |
30 | 1 | เจฟฟ์ ฮาร์ดี | 7 มิถุนายน ค.ศ. 2009 | New Orleans LA | This was a Ladder match. Hardy held the title in the shortset time in WWE History. |
31 | 2 | ซีเอ็ม พังก์ | 7 มิถุนายน ค.ศ. 2009 | New Orleans LA | Punk cashed in his Money in the Bank contract immediately after Hardy's victory to win the championship. |
32 | 2 | เจฟฟ์ ฮาร์ดี | 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 | Philadelphia PA | |
33 | 3 | ซีเอ็ม พังก์ | 23 สิงหาคม ค.ศ. 2009 | Los Angeles CA | This was a Tables, Ladders, and Chairs match. |
34 | 3 | ดิอันเดอร์เทเกอร์ | 4 ตุลาคม ค.ศ. 2009 | Newark NJ | This was a Hell in a Cell match. |
35 | 3 | คริส เจอริโค | 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 | St. Louis MO | This was an Elimination Chamber match |
36 | 1 | แจ็ก สแวกเกอร์ | 30 มีนาคม ค.ศ. 2010 | Las Vegas NV | Swagger cashed in his Money in the Bank contract. Signed to RAW at the time, Swagger transfers to Smackdown! upon winning the title. This episode aired on tape delay on April 2, 2010. |
37 | 2 | เรย์ มิสเตริโอ | 20 มิถุนายน ค.ศ. 2010 | Uniondale NY | This was a Fatal 4-Way match, also involving The Big Show and CM Punk. The title was referred to solely as the "World Championship" during the reign. |
38 | 1 | เคน | 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 | Kansas City MO | Kane cashed in his SmackDown Money in the Bank contract in order to challenge for the title. |
39 | 6 | เอดจ์ | 19 ธันวาคม ค.ศ. 2010 | Houston TX | This was a Fatal 4-Way Tables, Ladders, and Chairs match, also involving Alberto Del Rio and Rey Mysterio. |
40 | 1 | ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์ | 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 | San Diego CA | Edge was stripped as a result of using the spear (which had been banned) in a previous match by Vickie Guerrero, who then awarded the belt to Ziggler. This episode aired on tape delay on February 18, 2011. |
41 | 7 | เอดจ์ | 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 | San Diego CA | This episode aired on tape delay on February 18, 2011. |
ว่างลง | 11 เมษายน ค.ศ. 2011 | Bridgeport, CT | เอดจ์ได้ประกาศว่าเขาจะเลิกปล้ำ เพราะมีอาการบาดเจ็บ และขอสละแชมป์เฮฟวี่เวท.[16] | ||
42 | 1 | คริสเตียน | 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 | Tampa, FL | ชนะ อัลเบร์โต เดล รีโอ ในแมทช์ไต่บันได ในศึกเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2011) |
43 | 2 | แรนดี ออร์ตัน | 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 | Orlando, FL | This episode aired on tape delay on May 6, 2011. |
44 | 2 | คริสเตียน | 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 | โรสมอนต์ รัฐอิลลินอย | ชิงได้ในศึกมันนี่อินเดอะแบงค์ ในแมทช์โดยถ้าออร์ตัน ทำผิดกฎิตา หรือตามคำสั่งยุติการปล้ำของกรรมการ เข็มขัดจะตกเป็นของ คริสเตียน โดยปริยาย |
45 | 3 | แรนดี ออร์ตัน | 14 สิงหาคม ค.ศ. 2011 | Los Angeles, California | ชิงได้ในศึกซัมเมอร์สแลม ในแมทช์ไม่มีกฎกติกา |
46 | 1 | มาร์ก เฮนรี | 18 กันยายน ค.ศ. 2011 | Buffalo, New York | ชิงได้ในศึกไนท์ออฟแชมเปียนส์ |
47 | 1 | บิ๊กโชว์ | 18 ธันวาคม ค.ศ. 2011 | Baltimore, MD | ชิงได้ในศึกทีแอลซี |
48 | 1 | แดเนียล ไบรอัน | 18 ธันวาคม ค.ศ. 2011 | Baltimore, MD | ชิงได้ในศึกทีแอลซี จากการใช้สิทธิ์มันนีอินเดอะแบงก์ |
49 | 1 | เชมัส | 1 เมษายน ค.ศ. 2012 | Miami, FL | ชิงได้ในศึกเรสเซิลเมเนีย ชนะ แดเนียล ไบรอัน ในเวลาเพียงแค่ 18 วินาที[17] |
50 | 2 | บิ๊กโชว์ | 28 ตุลาคม ค.ศ. 2012 | แอตแลนตา, รัฐจอร์เจีย | ชิงได้ในเฮลอินเอเซล ชนะ เชมัส |
51 | 1 | อัลเบร์โต เดล รีโอ | 8 มกราคม ค.ศ. 2013 | Miami, FL | ชิงได้ในศึกสแมคดาวน์ในแมทช์ Last Man Standing |
52 | 2 | ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์ | 8 เมษายน ค.ศ. 2013 | East Rutherford, NJ | ชิงได้ในศึกรอว์ การการใช้สิทธิ์มันนีอินเดอะแบงก์ |
53 | 2 | อัลเบร์โต เดล รีโอ | 16 มิถุนายน ค.ศ. 2013 | Rosemont, IL | ชิงได้ในศึกเพย์แบ็ค ชนะ ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์ |
54 | 3 | จอห์น ซีนา | 27 ตุลาคม ค.ศ. 2013 | Miami, FL | ชิงได้ในศึกเฮลอินเอเซล ชนะ อัลเบร์โต เดล รีโอ |
55 | 4 | แรนดี ออร์ตัน | 15 ธันวาคม ค.ศ. 2013 | ฮูสตัน, รัฐเท็กซัส | ชิงได้ในศึกทีแอลซี: เทเบิล แลดเดอร์ แอนด์ แชร์ ชนะ จอห์น ซีนา |
- | - | รวบแชมป์ | 16 ธันวาคม ค.ศ. 2013 | รวบแชมป์ World Heavyweight Championship เป็นเส้นเดียวกันพร้อมกับเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น WWE World Heavyweight Championship |
สถิติการครองแชมป์
แก้ลำดับ | รายชื่อนักมวยปล้ำ | สมัยที่ครอง | ระยะเวลาการครอง (วัน) |
---|---|---|---|
1 | Triple H | 5 | 616 |
2 | Batista | 4 | 510 |
3 | Edge | 7 | 412 |
4 | Alberto Del Rio | 2 | 226 |
5 | The Undertaker | 3 | 213 |
6 | Sheamus | 1 | 210 |
7 | CM Punk | 3 | 160 |
8 | John Cena | 3 | 154 |
Chris Benoit | 1 | 154 | |
Kane | 1 | 154 | |
11 | Rey Mysterio | 2 | 140 |
12 | Randy Orton | 4 | 138 |
13 | King Booker | 1 | 126 |
14 | Chris Jericho | 3 | 109 |
15 | Daniel Bryan | 1 | 105 |
16 | Mark Henry | 1 | 91 |
17 | Goldberg | 1 | 84 |
18 | Jack Swagger | 1 | 79 |
Kurt Angle | 1 | 79 | |
20 | Big Show | 2 | 75 |
21 | Dolph Ziggler | 2 | 69 |
22 | The Great Khali | 1 | 58 |
23 | Christian | 2 | 33 |
24 | Jeff Hardy | 2 | 28 |
Shawn Michaels | 1 | 28 |
อ้างอิง
แก้- ↑ "WWE Entertainment, Inc. Acquires WCW from Turner Broadcasting". World Wrestling Entertainment Corporate. 2001-03-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-13. สืบค้นเมื่อ 2008-10-17.
- ↑ "WWE Entertainment To Make RAW and SMACKDOWN Distinct Television Brands". World Wrestling Entertainment Corporate. 2002-03-27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-17. สืบค้นเมื่อ 2008-10-17.
- ↑ 3.0 3.1 "RAW get's it's own champion". Wayback Machine. World Wrestling Entertainment. 2002-09-02. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2002-10-15. สืบค้นเมื่อ 2008-10-17.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "World Heavyweight Championship title history". World Wrestling Entertainment.
- ↑ "WCW World Heavyweight Championship history". World Wrestling Entertainment.
- ↑ 6.0 6.1 "World Heavyweight Championship history". Wrestling-Titles.com. สืบค้นเมื่อ 2007-03-23.
- ↑ "Triple H's first reign". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-21. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Shawn Michaels' first reign". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Triple H's second reign". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Goldberg's first reign". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-07. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Triple H's third reign". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-24. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Chris Benoit's first reign". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Randy Orton's first reign". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-30. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Triple H's fourth reign". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Triple H's fifth reign". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-03-22.
- ↑ "Injury forces Edge to retire". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-17. สืบค้นเมื่อ 2011-11-04.
- ↑ "Sheamus' first reign". WWE. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-13. สืบค้นเมื่อ 2012-04-11.