พ.ศ. 2447
ปี
พุทธศักราช 2447 (นับแบบใหม่) ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ปีมะโรง ฉศก จุลศักราช 1266 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2447 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1904 MCMIV |
Ab urbe condita | 2657 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1353 ԹՎ ՌՅԾԳ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6654 |
ปฏิทินบาไฮ | 60–61 |
ปฏิทินเบงกอล | 1311 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2854 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 3 Edw. 7 – 4 Edw. 7 |
พุทธศักราช | 2448 |
ปฏิทินพม่า | 1266 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7412–7413 |
ปฏิทินจีน | 癸卯年 (เถาะธาตุน้ำ) 4600 หรือ 4540 — ถึง — 甲辰年 (มะโรงธาตุไม้) 4601 หรือ 4541 |
ปฏิทินคอปติก | 1620–1621 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3070 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1896–1897 |
ปฏิทินฮีบรู | 5664–5665 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1960–1961 |
- ศกสมวัต | 1826–1827 |
- กลียุค | 5005–5006 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11904 |
ปฏิทินอิกโบ | 904–905 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1282–1283 |
ปฏิทินอิสลาม | 1321–1322 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเมจิ 37 (明治37年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4237 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 8 ก่อน ROC 民前8年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าอินทยงยศโชติ (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2454)
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465)
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 - 5 เมษายน พ.ศ. 2461)
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
แก้- 16 มกราคม – โรงเรียนช่างไหม สถาบันการศึกษาของกระทรวงเกษตราธิการ ได้ถือกำเนิดขึ้น ณ ตำบลทุ่งศาลาแดง กรุงเทพมหานคร
- 8 เมษายน – ประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ลงนามในข้อตกลง Entente Cordiale เพื่อยุติสงครามแย่งอาณานิคม
- 12 เมษายน - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯให้นักเรียนโรงเรียนเบญจมบพิตร หรือ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรในปัจจุบัน ขึ้นเรียนบนอาคารถาวรหลังใหม่หลังจากฉลองอาคารแล้ว
- 1 กรกฎาคม – พิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในทวีปอเมริกาเหนือ ณ เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา
- 3 สิงหาคม - การรุกรานทิเบตของอังกฤษ พ.ศ. 2446: กองทัพอังกฤษบุกยึดกรุงลาซาของทิเบต
- 6 ตุลาคม - เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ พร้อมด้วยเจ้าราชวงศ์ เจ้าราชภาคินัย เจ้าน้อยสมพมิตร เจ้าน้อยเมืองชื่น และเจ้าน้อยวุฒิวงษ์[1] นำเครื่องราชบรรณาการจากนครเชียงใหม่ มาถวายเพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ ก่อนจะมีการยกเลิกธรรมเนียมการถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองและเครื่องราชบรรณาการตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา[2]
- 4 มีนาคม – สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น: ทหารญี่ปุ่น 100,000 คน กดดันให้ทหารรัสเซียในเกาหลีล่าถอยไปยังแมนจูเรีย
วันเกิด
แก้- 4 มีนาคม - จอร์จ แกมอฟ นักฟิสิกส์ชาวยูเครน (เสียชีวิต พ.ศ. 2511)
- 29 พฤษภาคม - จารุพัตรา ศุภชลาศัย (สิ้นชีพิตักษัย 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2516)
- 6 มิถุนายน - ศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณ (สิ้นชีพิตักษัย 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518)
- 22 มิถุนายน - หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ์ (สิ้นชีพิตักษัย 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524)
- 24 กรกฎาคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489)
- 22 สิงหาคม - เติ้งเสี่ยวผิง ผู้นำสาธารณรัฐประชาชนจีน (เสียชีวิต พ.ศ. 2540)
- 4 กันยายน - ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา (ถึงแก่อนิจกรรม 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540)
- 15 กันยายน - สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี (สวรรคต 18 มีนาคม พ.ศ. 2526)
- 12 พฤศจิกายน - หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (สิ้นชีพิตักษัย 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2475)
- 5 ธันวาคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต (สิ้นพระชนม์ 15 กันยายน พ.ศ. 2502)
- 20 ธันวาคม - สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (สวรรคต 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 1 พฤษภาคม – อันโตญีน ดโวฌาก คีตกวีชาวเช็ก (เกิด พ.ศ. 2384)
- 26 ตุลาคม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411)
รางวัล
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ เจ้าประเทศราชเฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการ เจ้านครเชียงใหม่ เฝ้าถวายต้นไม้ทองเงินเครื่องราชบรรณาการราชกิจจานุเบกษา เล่ม 21 ตอนที่ 28 วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2447
- ↑ วรชาติ มีชูบท, เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมียะ, กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค, 2556