พ.ศ. 1530
ปี
พุทธศักราช 1530 ใกล้เคียงกับ
- เมษายน ค.ศ. 987 - มีนาคม ค.ศ. 988
- มหาศักราช 909
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 1530 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 987 CMLXXXVII |
Ab urbe condita | 1740 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 436 ԹՎ ՆԼԶ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 5737 |
ปฏิทินบาไฮ | −857 – −856 |
ปฏิทินเบงกอล | 394 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 1937 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | N/A |
พุทธศักราช | 1531 |
ปฏิทินพม่า | 349 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 6495–6496 |
ปฏิทินจีน | 丙戌年 (จอธาตุไฟ) 3683 หรือ 3623 — ถึง — 丁亥年 (กุนธาตุไฟ) 3684 หรือ 3624 |
ปฏิทินคอปติก | 703–704 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 2153 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 979–980 |
ปฏิทินฮีบรู | 4747–4748 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1043–1044 |
- ศกสมวัต | 909–910 |
- กลียุค | 4088–4089 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 10987 |
ปฏิทินอิกโบ | −13 – −12 |
ปฏิทินอิหร่าน | 365–366 |
ปฏิทินอิสลาม | 376–377 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | Kanna 3 / Eien 1 (永延元年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | 987 CMLXXXVII |
ปฏิทินเกาหลี | 3320 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 925 ก่อน ROC 民前925年 |
เหตุการณ์
แก้ตามสถานที่
แก้จักรวรรดิไบแซนไทน์
แก้- 7 กุมภาพันธ์ – บาร์ดัส โฟกัส (ผู้เยาว์) กับบาร์ดัส สกเลรอส สมาชิกสองคนจากชนชั้นสูงทางทหาร เริ่มก่อกบฏระดับกว้างต่อจักรพรรดิเบซิลที่ 2 พวกเขาบุกรุกอานาโตเลีย และโฟกัสประกาศตนเองเป็นจักรพรรดิ เบซิลยื่นขอความช่วยเหลือทางทหารจากเจ้าชายวลาดีมีร์มหาราช ผู้ปกครองจักรวรรดิรุสเคียฟ ผู้ตอบรับคำขอและส่งกองทัพวารันเจียน (6,000 นาย)[1]
ยุโรป
แก้- อัลมันศูร ผู้ปกครองอัลอันดะลุสโดยพฤตินัย ครอบครองนครกูอิงบรา (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปรตุเกส)[2]
- 3 กรกฎาคม – หลังจากหลุยส์ที่ 5 กษัตริย์การอแล็งเฌียงองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก สวรรคตในเดือนพฤษภาคม อูก กาแปขึ้นครองราชย์ที่นัวยง
- ธันวาคม – รอแบร์ (พระราชโอรสในอูก กาแป) เมื่อพระชนมพรรษา 15 พรรษา ขึ้นปกครองฝรั่งเศสร่วมกันเมื่อประมาณวันคริสต์มาสที่ออร์เลอ็อง[3]
- ประชากรที่บารีก่อกบฏต่อจักรวรรดิไบแซนไทน์[4]
แอฟริกา
แก้- ราชวงศ์ซีริดไม่สามารถพิชิตส่วนตะวันตกของอัลมัฆริบอีกครั้ง ซึ่งพวกเขาสูญเสียให้แก่รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์[5]
วันเกิด
แก้- อัลมะฮ์ดี อัลฮุซัยน์ อิมามซัยดีแห่งเยเมน (เสียชีวิต ค.ศ. 1013)
- อิบน์ ฮัยยาน นักเขียนและนักประวัติศาสตร์ชาวมัวร์ (เสียชีวิต ค.ศ. 1075)
- จางอี้หฺวังไท่โฮ่วแห่งราชวงศ์ซ่ง (สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1032)
- หลิ่ว หย่ง กวีชาวจีนในสมัยราชวงศ์ซ่ง (เสียชีวิต ค.ศ. 1053)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 10 มกราคม – ปิเอโตรที่ 1 ออร์เซโอโล ดูเชแห่งเวนิส (เกิด ค.ศ. 928)
- 30 มีนาคม – อาร์นุลฟ์ที่ 2 (ผู้เยาว์) ขุนนางแฟรงก์
- 21 พฤษภาคม – พระเจ้าหลุยส์ที่ 5 กษัตริย์แห่งอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก
- 13 กรกฎาคม – อะบูลฟะวาริส อะห์มัด อิบน์ อะลี ผู้ว่าการ Ikhshidid[6]
- 21 กรกฎาคม – จ็อฟฟรีย์ที่ 1 (Greymantle), ขุนนางแฟรงก์
- 8 กันยายน (ประมาณ) – อาดัลแบร์ที่ 1 เคานต์แห่งแวร์ม็องดัว ขุนนางแฟรงก์[7]
- 16 พฤศจิกายน – เฉิ่น หลุน ชื่อต้าฝู่ชาวจีน
อ้างอิง
แก้- ↑ Raffaele D'Amato (2010). Osprey: MAA - 459: The Varangian Guard 988–1453, p. 6. ISBN 978-1-84908-179-5.
- ↑ Picard, Christophe (2000). Le Portugal musulman (VIIIe-XIIIe siècle). L'Occident d'al-Andalus sous domination islamique. Paris: Maisonneuve & Larose. p. 109. ISBN 2-7068-1398-9.
- ↑ Robert Fawtier, The Capetian Kings of France, transl. Lionel Butler and R.J. Adam, (Macmillan, 1989), p.48.
- ↑ France, John (1991). "The occasion of the coming of the Normans to southern Italy". Journal of Medieval History. 17 (1): 183–203. doi:10.1016/0304-4181(91)90033-H.
- ↑ Gilbert Meynier (2010). L'Algérie cœur du Maghreb classique. De l'ouverture islamo-arabe au repli (658-1518). Paris: La Découverte; p. 45.
- ↑ Bacharach, Jere L. (2006). Islamic History Through Coins: An Analysis and Catalogue of Tenth-century Ikhshidid Coinage. Cairo: American University in Cairo. pp. 60–61. ISBN 9774249305.
- ↑ Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band III Teilband 1 (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 49