จักรวรรดิรุสเคียฟ

50°27′N 30°31′E / 50.450°N 30.517°E / 50.450; 30.517

รุส

Роусь (สลาฟตะวันออกเก่า)
ค.ศ. 879–ค.ศ. 1240
แผนที่จักรวรรดิรุสเคียฟตอนปลาย (หลังการสวรรคตของยาโรสลาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1054)
แผนที่จักรวรรดิรุสเคียฟตอนปลาย (หลังการสวรรคตของยาโรสลาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1054)
เมืองหลวงนอฟโกรอด (879–882),
เคียฟ (882–1240)
ภาษาทั่วไปภาษาสลาฟตะวันออกเก่า, ภาษานอร์สเก่า (ในกลุ่มชาวไวกิง)
ศาสนา
เดมะนิมรุส
การปกครองราชาธิปไตย
แกรนด์พรินซ์แห่งเคียฟ 
• ค.ศ. 879–912 (องค์แรก)
โอเลกผู้ทำนาย
• ค.ศ. 1236–1240 (องค์สุดท้าย)
มีฮาอิลแห่งเชอร์นิกอฟ
สภานิติบัญญัติVeche, สภาเจ้าชาย
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 879
• การพิชิตรัฐข่านคาซาร์
ค.ศ. 965–969
ป. ค.ศ. 988
ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11
ค.ศ. 1240
พื้นที่
1000[1]1,330,000 ตารางกิโลเมตร (510,000 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1000[1]
5,400,000
สกุลเงินกริฟนา
ก่อนหน้า
ถัดไป
รัฐข่านรุส
สลาฟนอฟโกรอด
Krivichs
Chud
ฟินน์วอลกา
Dregoviches
Radimichs
โปแลน (ตะวันออก)
Severians
Drevlians
Vyatichi
Volhynians
โครเอเชียขาว
Tivertsi
Ulichs
ราชรัฐเคียฟ
สาธารณรัฐโนฟโกรอด
ราชรัฐเชอร์นิกอฟ
ราชรัฐเปเรสลาฟล์
วลาดีมีร์-ซุซดัล
ราชรัฐวอลฮือเนีย
ราชรัฐฮาลึช
ราชรัฐโปลอตสค์
ราชรัฐสโมเลนสค์
ราชรัฐเรียซัน
จักรวรรดิมองโกล

จักรวรรดิรุสเคียฟ (เบลารุส: Кіеўская Русь; รัสเซีย: Ки́евская Русь; ยูเครน: Ки́ївська Русь; จากสลาฟตะวันออกเก่า: Роусь, อักษรโรมัน: Rusĭ หรือ роусьскаѧ землѧ, ถอดเป็นอักษรโรมัน: rusĭskaę zemlę) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 879 จนถึง ค.ศ. 1240 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า "ชนรุส" โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย และยูเครน[2] รัชสมัยของวลาดีมีร์มหาราช (ค.ศ. 980–1015) และพระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิรุสเคียฟยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า "ประมวลกฎหมายรุสสคายา" (Russkaya Pravda)

ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิรุสเคียฟสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ[3] และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11[4]

อ้างอิง

แก้
  1. Б.Ц.Урланис. Рост населения в Европе (PDF) (ภาษารัสเซีย). p. 89.
  2. "Kievan Rus". The Columbia Encyclopedia. 2001–2005.
  3. Robin Milner-Gulland, The Russians, Blackwell Publishing, 1999, ISBN 0-631-21849-1, 9780631218494, p. 45
  4. Michael Psellus: Chronographia, ed. E. Sewter, (Yale University Press, 1953), 91. and R. Jenkins, Byzantium: The Imperial Centuries AD 610-1071 (Toronto 1987) p. 307

ข้อมูลทั่วไป

แก้

อ่านเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้