หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)
จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ [2] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ [3] กระทรวงสหกรณ์ [4]กระทรวงวัฒนธรรม[5] และรองนายกรัฐมนตรี[6][7]
หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) | |
---|---|
รองนายกรัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 – 16 กันยายน พ.ศ. 2500 ดำรงตำแหน่งร่วมกับ จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี | |
นายกรัฐมนตรี | แปลก พิบูลสงคราม |
ก่อนหน้า | พลเอก ผิน ชุณหะวัณ พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ พันเอก นายวรการบัญชา |
ถัดไป | พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ พลโท ประภาส จารุเสถียร สุกิจ นิมมานเหมินท์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ | |
ดำรงตำแหน่ง 8 ธันวาคม พ.ศ. 2494 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2495 | |
นายกรัฐมนตรี | แปลก พิบูลสงคราม |
ก่อนหน้า | พลตรี เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ |
ถัดไป | พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ [a] | |
ดำรงตำแหน่ง 28 มีนาคม พ.ศ. 2495 – 2 สิงหาคม พ.ศ. 2497 | |
นายกรัฐมนตรี | แปลก พิบูลสงคราม |
ก่อนหน้า | สถาปนาตำแหน่ง |
ถัดไป | พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม | |
ดำรงตำแหน่ง 2 สิงหาคม พ.ศ. 2498 – 16 กันยายน พ.ศ. 2500 | |
นายกรัฐมนตรี | แปลก พิบูลสงคราม |
ก่อนหน้า | แปลก พิบูลสงคราม |
ถัดไป | หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล |
ผู้บัญชาการทหารเรือ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494 – 19 กันยายน พ.ศ. 2500 | |
ก่อนหน้า | พลเรือเอก หลวงพลสินธวาณัติก์ |
ถัดไป | พลเรือเอก หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 19 ตุลาคม พ.ศ. 2436 |
เสียชีวิต | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2518 (82 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
สังกัด | กองทัพเรือไทย |
ประจำการ | 2494-2500 |
ยศ | พลเอก จอมพลเรือ พลอากาศเอก[1] |
บังคับบัญชา | กองทัพเรือ |
ประวัติ
แก้จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494[8] ถึง 19 กันยายน พ.ศ. 2500
หลวงยุทธศาสตร์โกศล ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ[9] เมื่อ พ.ศ. 2494-2495 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ ระหว่าง พ.ศ. 2495-2498 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ระหว่าง พ.ศ. 2498-2500 และรองนายกรัฐมนตรี เมื่อ พ.ศ. 2500 ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศทหาร ให้เป็น "พลเอก จอมพลเรือ และ พลอากาศเอก" เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2499[10]
ยศ
แก้ยศทหาร
แก้ยศเสือป่า
แก้- 1 ธันวาคม 2463 – นายเรือโท กองเสือป่าหลวงเดินทะเล[11]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทย สากล และต่างประเทศ ดังนี้
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
แก้- พ.ศ. 2496 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[12]
- พ.ศ. 2495 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[13]
- พ.ศ. 2496 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[14]
- พ.ศ. 2484 – เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน (ช.ส.)[15]
- พ.ศ. 2486 – เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ส.)[16]
- พ.ศ. 2477 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (พ.ร.ธ.)[17]
- พ.ศ. 2486 – เหรียญช่วยราชการเขตภายใน การรบสงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ร.)[18]
- พ.ศ. 2475 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[19]
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 (ว.ป.ร.5)
- พ.ศ. 2481 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 3 (อ.ป.ร.3)[20]
- พ.ศ. 2496 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)[21]
- พ.ศ. 2459 – เหรียญราชรุจิทอง รัชกาลที่ 6 (ร.จ.ท.6)[22]
- พ.ศ. 2454 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 (ร.ร.ศ.6)
- พ.ศ. 2468 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 7 (ร.ร.ศ.7)
- พ.ศ. 2493 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (ร.ร.ศ.9)
- พ.ศ. 2475 – เหรียญเฉลิมพระนคร 150 ปี (ร.ฉ.พ.)
เครื่องอิสริยาภรณ์สากล
แก้- สหประชาชาติ :
- พ.ศ. 2496 – เหรียญสหประชาชาติเกาหลี[23]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้- ไรช์เยอรมัน :
- พ.ศ. 2480 – เครื่องอิสริยาภรณ์กาชาดเยอรมัน ชั้นที่ 3[24]
- อิตาลี :
- พ.ศ. 2480 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎอิตาลี ชั้นที่ 3[25]
- ฝรั่งเศส :
- พ.ศ. 2481 – เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้นที่ 3 กอม็องเดอร์[26]
- ญี่ปุ่น :
- พ.ศ. 2482 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงคลรัตน์ ชั้นที่ 3[27]
- ลาว :
- พ.ศ. 2498 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์พระบรมรูป ชั้นที่ 1[28]
- พ.ศ. 2500 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์ล้านช้างร่มขาว ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์[29]
- กัมพูชา :
- พ.ศ. 2498 – เครื่องอิสริยยศลำดับสหไมตรี ชั้นที่ 1 มหาเสรีวัฒน์[30]
- พม่า :
- พ.ศ. 2499 – เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งสหภาพพม่า ชั้นที่ 1 อัคคมหาสิเรสิตู (ฝ่ายหทาร)[31]
เชิงอรรถ
แก้- ↑ ก่อนวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2497 ชื่อเดิมคือ กระทรวงการสหกรณ์
อ้างอิง
แก้- ↑ "ได้รับพระราชทานยศ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-08-01.
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
- ↑ "รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ ๒๔". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-14. สืบค้นเมื่อ 2007-12-01.
- ↑ "รายชื่อคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๕". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-11. สืบค้นเมื่อ 2007-11-30.
- ↑ "รายชื่อคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๖". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-14. สืบค้นเมื่อ 2007-11-30.
- ↑ "รายชื่อคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๖". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-14. สืบค้นเมื่อ 2007-11-30.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๐ ราย) เล่ม 74 ตอน 33ก วันที่ 1 เมษายน 2500
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๕ ราย)
- ↑ "ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศทหาร ให้เป็น "พลเอก จอมพลเรือ และ พลอากาศเอก"" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-08-01.
- ↑ พระราชทานยศนายเสือป่า
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๗๘ ง หน้า ๕๓๘๙, ๒๒ ธันวาคม ๒๔๙๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๗๒ ง หน้า ๔๖๕๐, ๙ ธันวาคม ๒๔๙๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๒๙ ง หน้า ๒๐๕๒, ๑๒ พฤษภาคม ๒๔๙๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๗๖๕, ๑๐ มิถุนายน ๒๔๘๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๖๕ ง หน้า ๓๙๐๒, ๑๔ ธันวาคม ๒๔๘๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๔๕๙, ๒ ธันวาคม ๒๔๗๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตภายใน, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๔๓ ง หน้า ๒๕๙๐, ๑๗ สิงหาคม ๒๔๘๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๙ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๑๒๒, ๑๑ ธันวาคม ๒๔๗๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๖๐๙, ๒๓ มกราคม ๒๔๘๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๒๓ ง หน้า ๑๖๕๕, ๗ เมษายน ๒๔๙๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญราชรุจิ, เล่ม ๓๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๒๗๙, ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเหรียญปฏิบัติงานสหประชาชาติ, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๗๓ ง หน้า ๑๙๐๒, ๑๗ พฤศจิกายน ๒๔๙๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ประดับตราต่างประเทศ, เล่ม ๕๔ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๓๑๔, ๖ กันยายน ๒๔๘๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ประดับตราต่างประเทศ, เล่ม ๕๔ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๖๒๘, ๑ พฤศจิกายน ๒๔๘๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๓๔๕, ๒๗ มีนาคม ๒๔๘๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๕๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๕๓๒, ๒๙ พฤษภาคม ๒๔๘๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๖๗ ง หน้า ๒๑๓๐, ๓๐ สิงหาคม ๒๔๙๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๔ ตอนที่ ๕๑ ง หน้า ๑๓๐๗, ๔ มิถุนายน ๒๕๐๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๗๕ ง หน้า ๒๒๗๙, ๒๐ กันยายน ๒๔๙๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๓ ตอนที่ ๑๑ ง หน้า ๓๘๕, ๓๑ มกราคม ๒๔๙๙