มีแชล ฟูโก

(เปลี่ยนทางจาก Michel Foucault)

มีแชล ฟูโก (ฝรั่งเศส: Michel Foucault, ออกเสียง: [miʃɛl fuko]; 15 ตุลาคม ค.ศ. 1926 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1984) เป็นนักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ความคิด นักทฤษฎีสังคม นักนิรุกติศาสตร์ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวฝรั่งเศส เคยดำรงตำแหน่ง "ศาสตราจารย์ทางประวัติศาสตร์ของระบบความคิด" (Professor of the History of Systems of Thought)[1] ที่วิทยาลัยฝรั่งเศส (Collège de France) และเคยสอนที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา

Michel Foucault (1974)
มีแชล ฟูโก
เกิด15 ตุลาคม ค.ศ. 1926
ปัวตีเย, ฝรั่งเศส
เสียชีวิต25 มิถุนายน ค.ศ. 1984(1984-06-25) (57 ปี)
ปารีส, ฝรั่งเศส
ยุคปรัชญาคริสต์ศตวรรษที่ 20
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักปรัชญาภาคพื้นทวีป, โครงสร้างนิยม, หลังโครงสร้างนิยม
ความสนใจหลัก
ประวัติศาสตร์ความคิด (history of ideas), ญาณวิทยา, จริยศาสตร์, ปรัชญาการเมือง
แนวคิดเด่น
"โบราณคดี", "วงศาวิทยา", "episteme", "ชีวอำนาจ", "governmentality", "disciplinary institution", panopticism

ในฐานะนักทฤษฎีสังคม ฟูโกให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจกับความรู้ รวมถึงวิธีการที่สถาบันทางสังคมต่างๆ ใช้อำนาจและความรู้เป็นเครื่องมือในการควบคุมผู้คนในสังคม ฟูโกมักถูกมองว่าเป็นตัวแทนของญาณวิทยาแบบหลังโครงสร้างนิยมและเป็นตัวแทนของนักคิดยุคหลังสมัยใหม่ แต่ตัวเขาเองปฏิเสธเรื่องนี้มาโดยตลอด ฟูโกเลือกจะอธิบายว่าความคิดของเขาเป็นประวัติศาสตร์เชิงวิพากษ์ต่อความเป็นสมัยใหม่มากกว่า ความคิดของฟูโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งทั้งในทางวิชาการและในทางการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่น ในขบวนการหลังอนาธิปไตย

ผลงานที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย

แก้
  1. "ว่าด้วยการปกครอง," แปลโดย ธเนศ วงศ์ยานนาวา จุลสารไทยคดีศึกษา 4,2 (ธันวาคม 2529): 96-103.
  2. ร่างกายใต้บงการ แปลโดย ทองกร โภคธรรม (กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2554)

งานเขียนที่เกี่ยวข้องในภาษาไทย

แก้
  1. กัตติง, แกรี, ฟูโกต์ ฉบับพกพา, แปลโดย สายพิณ ศุพุทธมงคล (กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์, 2558).
  2. ธงชัย วินิจจะกูล, วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์แบบวงศาวิทยา (Geneanology). มปท: มปพ, 2534. (รายงานโครงการวิจัยเสริมหลักสูตร). ปรับปรุงแก้ไขและตีพิมพ์ในชื่อ "วิธีการศึกษาแบบสาแหรกของฟูโกต์," ใน อนุสรณ์ อุณโณ, จันทนี เจริญศรี และสลิสา ยุกตะนันทน์ (บก.), อ่านวิพากษ์ มิเชล ฟูโกต์, น. 126-78. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2558. และอีกครั้งในชื่อ "การศึกษาประวัติศาสตร์แบบสาแหรก: วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ของฟูโกต์," ใน ธงชัย วินิจจะกูล, ออกนอกขนบประวัติศาสตร์ไทย: ว่าด้วยประวัติศาสตร์นอกขนบและวิธีวิทยาทางเลือก, น. 157-90 (กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2562).
  3. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "อ่านงานฟูโก้," วารสารธรรมศาสตร์ 14,3 (กันยายน 2528): 36-57.
  4. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "มิเชล ฟูโกต์: ปัญญาชน ความจริงและอำนาจ," วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 5,1-2 (ตุลาคม 2528-มีนาคม 2529): 142-154.
  5. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "บทส่งท้าย ตรรกะของการกดบังคับ ฟูโก้และเฟมินิส," รัฐศาสตร์สาร 12,13 (เมษายน 2529-2530): 166-178.
  6. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "มิเชล ฟูโก้และอนุรักษนิยมใหม่," วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 6,3-4 (ตุลาคม 2531): 16-37.
  7. สุมาลี บำรุงสุข, "มิเชล ฟูโกและประวัติศาสตร์," จุลสารไทยคดีศึกษา 10,2 (พฤศจิกายน 2536-มกราคม 2537): 7-10.
  8. สายพิณ ศุพุทธมงคล, คุกกับคน : อำนาจและการต่อต้านขัดขืน (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543).
  9. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "Michel Foucault กับรัฐเสรีนิยมใหม่: วินัย/วิชา และสภาวะปกติ/สภาวะที่ผิดปกติ," ดำรงวิชาการ 3, 5 (มกราคม-มิถุนายน 2547): 271-290.
  10. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, การสร้าง "ซับเจค": บทวิพากษ์ Foucault และการวิเคราะห์ "ซับเจค" จากภาพ Las Meninas (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548).
  11. ตามไท ดิลกวิทยรัตน์, "ทฤษฎีการเขียนประวัติศาสตร์ของเฮย์เดน ไวท์," วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 6,1 (มกราคม-มิถุนายน 2562): 129-166.
  12. อานันท์ กาญจนพันธุ์, คิดอย่างมิเชล ฟูโกต์ คิดอย่างวิพากษ์: จากวาทกรรมของอัตบุคคล ถึงจุดเปลี่ยนของอัตตา (เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2552).
  13. ธีรยุทธ บุญมี, มิเชล ฟูโกต์ = Michel Foucault (กรุงเทพฯ : วิภาษา, 2551).
  14. ดุษฎี วรธรรมดุษฎี, "บทนำสู่ความปรกติ/ไม่ปรกติ หรือ ABNORMALIZATION," รัฐศาสตร์สาร 30,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2552): 216-236.
  15. ดุษฎี วรธรรมดุษฎี, "Governmentality: บทแนะนำเบื้องต้น," วารสารธรรมศาสตร์ 29,1 (มกราคม-มิถุนายน 2553): 106-117.
  16. อนุสรณ์ อุณโณ และคณะ (บรรณาธิการ), อ่านวิพากษ์ มิเชล ฟูโกต์ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม ร่วมกับคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558).

ผลงานที่ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ

แก้
  1. Archaeology of knowledge translated by Alan Sheridan (London: Routledge, 1972)
  2. The birth of the clinic : an archaeology of medical perception translated by Alan Sheridan (London: Routledge, 1973).
  3. The order of things; an archaeology of the human sciences (New York: Vintage Books 1973).
  4. Discipline and punish : the birth of the prison translated by Alan Sheridan (New York: Pantheon Books, 1977).
  5. The history of sexuality translated by Robert Hurley (New York: Vintage Books, 1978-1986).
  6. Power/knowledge : selected interviews and other writings, 1972-1977 translated by Colin Gordon (London: Harvester Press, 1980).
  7. The archaeology of knowledge ; and, The discourse on language translated by Alan Sheridan (New York: Pantheon Books, 1982).
  8. Madness and civilization : a history of insanity in the age of reason translated by Richard Howard (New York: Vintage Books, 1988).
  9. Politics, philosophy, culture : interviews and other writings, 1977-1984 translated by Alan Sheridan and others (New York: Routledge, 1988).
  10. Dream and existence with Ludwig Binswanger, edited by Keith Hoeller (Atlantic Highlands, N.J.: Humanities Press, 1993).
  11. Ethics: subjectivity and truth edited by Paul Rabinow, translated by Robert Hurley and others (New York: New Press, 1997).
  12. Aesthetics, method, and epistemology edited by James D. Faubion, translated by Robert Hurley and others (New York: New Press, 1998).
  13. Power edited by James D. Faubion, translated by Robert Hurley and others(New York: New Press, 2000).
  14. Abnormal : lectures at the Coll่ge de France, 1974-1975 edited by Valerio Marchetti and Antonella Salomoni, translated by Graham Burchell (New York: Picador, 2003).
  15. Society must be defended : lectures at the College de France, 1975-76 translated by David Macey (London, England: Allen Lane, 2003).
  16. The hermeneutics of the subject : lectures at the College de France, 1981-1982 edited by Frederic Gros, translated by Graham Burchell (New York, N.Y.: Palgrave Macmillan, 2005).
  17. Psychiatric power : lectures at the College de France, 1973-74 edited by Jacques Lagrange, translated by Graham Burchell (Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2006).
  18. The politics of truth edited by Sylvere Lotringer, translated by Lysa Hochroth & Catherine Porter (Los Angeles, Calif.: Semiotext(e), 2007)
  19. Security, territory, population : lectures at the Coll่ge de France, 1977-78 edited by Michel Senellart, translated by Graham Burchell (Houndmills, Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2007).
  20. The birth of biopolitics : lectures at the College de France, 1978-79 edited by Michel Senellart, translated by Graham Burchell (Houndmills, Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2008).
  21. Introduction to Kant's Anthropology translated by Roberto Nigro and Kate Briggs (Los Angeles: Semiotext(e), 2008).
  22. The government of self and others : lectures at the College de France, 1982-1983 edited by Frederic Gros, translated by Graham Burchell (New York: Picador/Palgrave Macmillan, 2011).
  23. Speech begins after death in conversation with Claude Bonnefoy, edited by Philippe Artieres, translated by Robert Bononno (Minneapolis: University of Minnesota Press, 2013).

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
ไซต์ทั่วไป (ปรับเนื้อหาเป็นประจำ)
ชีวประวัติ
บรรณานุกรม
วารสาร
  • Foucault Studies—วารสารนานาชาติในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้รับการอ้างอิง
[[วิกิพีเดีย:|ข้อมูลบุคคล]]
ชื่อ Foucault, Michel}
ชื่ออื่น Foucault, Paul-Michel
รายละเอียดโดยย่อ French philosopher
วันเกิด 15 October 1926
สถานที่เกิด Poitiers, France
วันตาย 25 June 1984
สถานที่ตาย Paris, France

อ้างอิง

แก้
  1. Foreword in Michel Foucault,The Birth of Biopolitics, Palgrave Macmillan, 2008, Page XIII