แผ่นดินปิตุภูมิ
"Hen Wlad Fy Nhadau" (เสียงอ่านภาษาเวลส์: [heːn wlɑːd və n̥adaɪ̯]) "แผ่นดินปิตุภูมิ" เป็นเพลงชาติของเวลส์.[1] ที่มาของชื่อ – มาจากวรรคแรกของเพลงชาติ – แปลความได้ว่า "แผ่นดินปิตุภูมิ" ในภาษาเวลส์ (อังกฤษ: "Land of My Fathers"). เป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องของ อีวาน เจมส์ และ เรียบเรียงทำนองโดย เจมส์ เจมส์ ซึ่งเป็นบุตร ทั้งคู่ได้พำนักพักอาศัยที่ Pontypridd, Glamorgan, เมื่อ มกราคม ค.ศ. 1856[1][2] เอกสารต้นฉบับ ที่ได้ทำการคัดลอกนั้น ถูกเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติเวลส์[2]
คำแปล: แผ่นดินปิตุภูมิ | |
---|---|
สกอร์ดนตรีของเพลง "Hen Wlad Fy Nhadau" ลายมือดั้งเดิมของ เจมส์ เจมส์ ค.ศ. 1856 | |
เนื้อร้อง | อีวาน เจมส์, ค.ศ. 1856 |
ทำนอง | เจมส์ เจมส์, ค.ศ. 1856 |
ตัวอย่างเสียง | |
Hen Wald Fy Nhadau (บรรเลง) |
ต้นกำเนิด
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การใช้
แก้ตั้งแต่ ค.ศ. 1905 "Hen Wlad Fy Nhadau" เป็นเพลงชาติอย่างไม่เป็นทางการของเวลส์[1] ขับร้องครั้งแรกในระหว่างการแข่งขันรักบี้ ทั้งนี้เพลง "God Bless the Prince of Wales" เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการในห้วงเวลานั้น "Hen Wlad Fy Nhadau" มีทำนองดนตรีที่ช้า แต่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง รวมถึงมีการขับร้องต่อจากเพลง "God Bless the Prince of Wales" และ "ก็อดเซฟเดอะควีน" ก่อนเริ่มการแข่งขันกีฬา จนถึง ค.ศ. 1975 โดยได้เลือกเพลง "Hen Wlad Fy Nhadau" ขับร้องตามลำพัง เฉกเช่นเพลงชาติของประเทศในสหราชอาณาจักร, แม้ไม่ได้รับรองตามกฎหมายก็ตาม การบรรเลงเพลงชาติ กระทำได้ในรัฐพิธีที่รัฐบาลจัดขึ้น โดยบรรเลงครั้งแรกในพิธีเปิดประชุมรัฐสภา ในระหว่างการต้อนรับพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1970s.[2][3] รวมถึงงานพิธีที่ท้องถิ่นจัดขึ้น
การบรรเลง และ ขับร้องเพลงชาติ: ร้องเฉพาะ บทที่ 1 และ บทประสานเสียง (อาจมีการขับร้องเนื้อภาษาอังกฤษในบางโอกาส) ก็อดเซฟเดอะควีน เป็นเพลงชาติ และ เพลงสรรเสริญพระบารมี ตามด้วย "Hen Wlad fy Nhadau" ระหว่างพระราชพิธีบรมราชาภิเษก[3]
เนื้อร้อง
แก้ภาษาเวลส์ | แปลตามนิยาย | แปลตามบทกวี | แปลสำนวนอื่นๆ |
---|---|---|---|
(First stanza) |
The land of my fathers is dear unto me, |
The old land of my fathers is dear to me, |
The land of my fathers is dear to me, |
สื่อ
แก้เชิงอรรถ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 "Welsh National Anthem". wales.com. Welsh Government. 2014. สืบค้นเมื่อ 24 May 2014.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 "Welsh anthem – The background to Hen Wlad Fy Nhadau". Wales history. BBC Cymru Wales. 1 December 2008. สืบค้นเมื่อ 3 December 2010.
- ↑ 3.0 3.1 "The anthem in more recent years". Wales History. BBC. 1 December 2008. สืบค้นเมื่อ 3 December 2010.
Learn to read, pronounce, sing perform Welsh National Anthem; New App published by the National Library of Wales published. https://itunesconnect.apple.com/WebObjects/iTunesConnect.woa/ra/ng/app/908469898
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Jones, Cantorion Colin, Learn the Welsh National Anthem the Easy Way (Google You tube) (video), The North Wales Male Chorus.
- Hen wlad fy nhadau (sheet music arranged for piano and voice), Cantorion.
- Côr Meibion Pontypridd, Hen wlad fy nhadau, Male choir, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-14.
- Hen wlad fy nhadau, UK: Welsh Icons, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (midi file and vocal video)เมื่อ 1 มิถุนายน 2009.
- James, Sian, "Hen Wlad Fy Nhadau", You tube (video) (played on the Triple Harp and sung).
- Hen wlad fy nhadau (lyrics), UK: Welshpedia, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มิถุนายน 2011, สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2010.
- Redwood, John, Hen Wlad Fy Nhadau, You Tube.
- Siôn T. Jobbins, The Welsh National Anthem: its story, its meaning (Y Lolfa, 2013)