อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016
การแข่งขัน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 13 ของทัวร์นาเมนต์ซึ่งจัดขึ้นที่ ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม ถึง 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559[1]
เอเอฟเอฟ เอไอเอส ฟุตซอล แชมเปียนชิพ 2016 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | ไทย |
เมือง | กรุงเทพมหานคร |
วันที่ | 23−29 มกราคม 2560 |
ทีม | 7 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ไทย (สมัยที่ 12th) |
รองชนะเลิศ | พม่า |
อันดับที่ 3 | มาเลเซีย |
อันดับที่ 4 | ติมอร์-เลสเต |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 11 |
จำนวนประตู | 134 (12.18 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Pyae Phyo Maung (8 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | จิรวัฒน์ สอนวิเชียร |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ไทย |
ภายหลังการทราบข่าวการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เลื่อนการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016 ออกไป ต่อมาอินโดนีเซียเสนอตัวรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพแทนเพื่อจัดการแข่งขันต่อไป[2] แต่ทางอินโดนีเซียก็ได้ขอถอนตัวจากการเป็นเจ้าภาพเช่นกัน ทำให้สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนได้เจรจากับสมาคมฟุตบอลสิงคโปร์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคมที่ผ่านมา แต่ด้วยเวลาที่มีอยู่จำกัดทำให้สิงคโปร์ หาผู้สนับสนุนไม่ทันจึงไม่พร้อมที่จะเป็นเจ้าภาพ ทำให้ทางสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ตัดสินใจยกเลิกการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016 อย่างเป็นทางการ [3] แต่ในการประชุมสภากรรมการ ฝ่ายบริหารของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ได้มีมติให้ประเทศไทยกลับมาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันที่สนามอินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก โดยเลื่อนไปเป็นเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 โดยมีสิงค์โปร์ที่จะหาสถานที่รองรับการแข่งขันในกรณีที่ประเทศไทยไม่พร้อม[4] โดยล่าสุดทีมชาติเวียดนามและทีมชาติสิงค์โปร์ เป็นสองทีมล่าสุดที่ขอถอนทีมออกจากการแข่งขันในครั้งนี้
ทีม
แก้กลุ่ม เอ | กลุ่ม บี |
---|---|
|
สนามแข่งขัน
แก้กรุงเทพมหานคร | |
---|---|
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก | |
ความจุ: 10,000 | |
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 (จะมีประกาศแจ้งให้ทราบในภายหลัง)
เวลาที่ระบุไว่เป็น UTC+7.
กลุ่ม เอ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 2 | 2 | 0 | 0 | 28 | 4 | +24 | 6 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ติมอร์-เลสเต | 2 | 1 | 0 | 1 | 10 | 17 | −7 | 3 | |
3 | บรูไน | 2 | 0 | 0 | 2 | 8 | 25 | −17 | 0 |
กฎการจัดอันดับ :
ติมอร์-เลสเต | 2–11 | ไทย |
---|---|---|
Lemigio 12' Bruno 36' |
7', 20' พีระพล 8', 26' สรศักดิ์ 11', 34' กฤษดา 13' ไตรรงค์ 14' จิรวัฒน์ 18' พีรพัฒน์ 38' ปัญญา 39' มูฮัมหมัด |
ไทย | 17–2 | บรูไน |
---|---|---|
ไตรรงค์ 3' จิรวัฒน์ 4', 14' สรศักดิ์ 5', 33', 35' พีระพล 6' กฤษดา 15' มูฮัมหมัด 16', 25', 26', 30' ปาณัสน์ 24', 33', 35', 37' ปัญญา 29' |
8' Nazirul Haziq Adeni 14' Abdul Azim Bolhassan |
กลุ่ม บี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | พม่า | 3 | 3 | 0 | 0 | 17 | 7 | +10 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | มาเลเซีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 22 | 11 | +11 | 6 | |
3 | อินโดนีเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 27 | 13 | +14 | 3 | |
4 | ลาว | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 38 | −35 | 0 |
กฎการจัดอันดับ :
มาเลเซีย | 6–5 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
Haniffa 7' Azwann 13' Azri 14' Ridzwan 26', 29' Akmarulnizam 27' |
Andri 5' Randy 10' Syahidanshah 11' Ardy Dwi 14', 19' |
อินโดนีเซีย | 3–6 | พม่า |
---|---|---|
Syahidanshah 4', 15' Reza 13' |
1', 13', 14', 24' Phyo Maung 3' Min Soe 39' Pyone Aung |
ลาว | 1–13 | มาเลเซีย |
---|---|---|
Phiphakkhavong 4' | 1', 31' Akmarulnizam 2', 23' Effendy 7', 9', 17' Ridzwan 10', 16' Haniffa 24' Azri 29' Syed 35' Awaluddin 39' Awalluddin |
อินโดนีเซีย | 19–1 | ลาว |
---|---|---|
Syahidanshah 3', 16', 17', 28' Iqbal 8' Ardiansyah 8', 19', 24' Andri 10', 33', 34' Septyan 12' Fajri 13' Reza 14', 35' Bayu 17', 19', 31' Jaelani 21' |
Phasawaeng 38' |
รอบแพ้คัดออก
แก้รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
27 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร | ||||||
พม่า | 8 | |||||
29 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร | ||||||
ติมอร์-เลสเต | 3 | |||||
พม่า | 1 | |||||
27 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร | ||||||
ไทย | 8 | |||||
ไทย | 5 | |||||
มาเลเซีย | 3 | |||||
นัดชิงอันดับที่สาม | ||||||
29 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร | ||||||
ติมอร์-เลสเต | 1 | |||||
มาเลเซีย | 8 |
รอบรองชนะเลิศ
แก้ไทย | 5–3 | มาเลเซีย |
---|---|---|
มูฮัมหมัด 21', 24' สรศักดิ์ 25' จิรวัฒน์ 35', 39' |
1' Saiful 9' Effendy 12' Syed |
นัดชิงอันดับที่สาม
แก้ติมอร์-เลสเต | 1–8 | มาเลเซีย |
---|---|---|
Vide 1' | 5' Azri 17' Saiful 21', 37' Effendy 28' Ridzwan 30', 36' Awalluddin 40' Azwann |
รอบชิงชนะเลิศ
แก้อันดับดาวซัลโว
แก้- 8 ประตู
- 7 ประตู
- 6 ประตู
- 5 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- Mohammad Faiz
- Mohammad Nor Azizam
- Al Fajri Zikri
- Jaelani Ladjanibi
- Muhammad Iqbal Iskandar
- Randy Satria
- Septyan Dwi Chandra
- Khampha Phiphakkhavong
- Muhammad Awaluddin Bin Hassan
- Saiful Aula Bin Ahmad
- Khin Zaw Linn
- Naing Ye Kyaw
- Pyae Phyo Maung (2)
- ชัยวัฒน์ แจ่มกระจ่าง
- พีรพัฒน์ แก้ววิลัย
- Bruno Maria Gomes
- Kui Sen Mu
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
- Azwann Ismail (ในนัดที่พบกับ ไทย)
- Pyae Phyo Maung (2) (ในนัดที่พบกับ ไทย)
อ้างอิง
แก้- ↑ "AFF FUTSAL CHAMPIONSHIP 2016". 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "ไทยยกเลิกเจ้าภาพฟุตซอลอาเซี่ยน-อาจโยกสิทธิ์ให้อินโดฯ". 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-14. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "อินโดฯยกเลิกเจ้าภาพฟุตซอลอาเซี่ยน"" งดแข่งปีนี้". 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-14. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "ประชุมได้ข้อสรุป ฟุตซอลอาเซียน 2016 ไทยยังจัดต่อ สิงคโปร์พร้อมสแตนด์บาย". FourFourTwo. 30 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย]