ไมโครซอฟท์ เวิร์ด
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ไมโครซอฟท์ เวิร์ด เป็นโปรแกรมประมวลคำเพื่อการค้า ออกแบบโดยไมโครซอฟท์ เปิดตัวเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 ภายใต้ชื่อ มัลติ-ทูล เวิร์ด สำหรับระบบปฏิบัติการ Xenix[1][2][3] โดยมีเวอร์ชันอื่นๆ ออกมาอีกภายหลังเพื่อทำงานเขียนสำหรับแพลตฟอร์มอื่นๆ อาทิเช่น ไอบีเอ็มพีซีรันบนดอส (1983), แอปเปิล แมคอินทอช (1984), เอที&ที Unix PC (1985), Atari ST (1986), SCO UNIX, โอเอส/2, และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ (1989) โดยเป็นองค์ประกอบหนึ่งของซอฟต์แวร์ระบบไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขายแยกต่างหาก และรวมอยู่ในไมโครซอฟท์ เวิร์ก สูท เวอร์ชันปัจจุบัน คือ ไมโครซอฟท์ เวิร์ด 2016 สำหรับวินโดว์ และ 2016 สำหรับแมค (Microsoft Office 2016 for Mac) นอกจากนี้ยังมีใน Word Mobile ซึ่งเป็น freeware ในกลุ่ม ไมโครซอฟท์ ออฟฟิส โมบายล์ ในระบบปฏิบัติการ Windows 10, Windows Phone, iOS และ Android
นักพัฒนา | ไมโครซอฟท์ |
---|---|
ระบบปฏิบัติการ | ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ |
ประเภท | โปรแกรมประมวลคำ |
สัญญาอนุญาต | กรรมสิทธิ์ EULA |
เว็บไซต์ | ไมโครซอฟท์ เวิร์ด |
ประวัติ
แก้จุดกำเนิด และ การเติบโต: 1981 ถึง 1995
แก้ในปี 1981 ไมโครซอฟท์ได้จ้าง Charles Simonyi นักพัฒนาหลักของBravo โปรแกรมประมวลค่าGUI ตัวแรก ซึ่งพัฒนาบน Xerox PARC[4] Simonyi เริ่มสร้างโปรแกรมประมวลค่าที่ชื่อว่ามัลติ-ทูล เวิร์ด และต่อมาได้จ้างRichard Brodie อดีตพนักงานฝึกหัดบริษัทXerox เพื่อมาเป็นsoftware engineer หลัก[4][5][6] จนถึงปัจจุบัน
อ้างอิง
แก้- ↑ A. Allen, Roy (October 2001). "Chapter 12: Microsoft in the 1980's" (PDF). A History of the Personal Computer: The People and the Technology (1st ed.). Allan Publishing. pp. 12/25–12/26. ISBN 978-0-9689108-0-1. สืบค้นเมื่อ 2010-11-07.
- ↑ "Microsoft Office online, Getting to know you...again: The Ribbon".
- ↑ "The history of branding, Microsoft history".
- ↑ 4.0 4.1 Edwards, Benj (October 22, 2008). "Microsoft Word Turns 25". PC World. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-04. สืบค้นเมื่อ November 7, 2010.
- ↑ Tsang, Cheryl (1999). Microsoft First Generation. John Wiley & Sons. ISBN 978-0-471-33206-0.
- ↑ Schaut, Rick (May 19, 2004). "Anatomy of a Software Bug". MSDN Blogs. สืบค้นเมื่อ 2006-12-02.