เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ จัดตั้งแต่วันที่ 14 ถึง 28 มกราคม ค.ศ. 2020.[1] โดยมีทั้งหมด 28 ทีมเข้าร่วมการแข่งขันในการคัดเลือกเพลย์ออฟที่จะตัดสินหาแปดทีมจาก 32 ทีมในรอบแบ่งกลุ่มของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020.[2]
ทีม
แก้28 ทีมต่อไปนี้, แบ่งออกเป็นสองโซน (โซนตะวันตกและโซนตะวันออก) จะได้ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ ซึ่งประกอบไปด้วยสามรอบ:
- 8 ทีม เป็นทีมที่รออยู่ในรอบคัดเลือกรอบ 1
- 12 ทีม เป็นทีมที่รออยู่ในรอบคัดเลือกรอบ 2
- 8 ทีม เป็นทีมที่รออยู่ในรอบเพลย์ออฟ
โซน | ทีมที่ได้เล่นใน รอบเพลย์ออฟ | ทีมที่ได้เล่นใน รอบคัดเลือกรอบ 2 | ทีมที่ได้เล่นใน รอบคัดเลือกรอบ 1 |
---|---|---|---|
โซนตะวันตก | |||
โซนตะวันออก |
|
รูปแบบการแข่งขัน
แก้ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ แต่ละคู่จะลงเล่นแบบนัดเดียว ในกรณีจำเป็น (มีการเสมอกัน) จะต่อเวลาพิเศษและดวลลูกโทษเพื่อตัดสินหาทีมผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น (อ้างอิงบทความที่ 9.2). ผู้ชนะของแต่ละคู่ในรอบเพลย์ออฟจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ผู้แพ้ทั้งหมดในแต่ละรอบที่มาจากสมาคมกับช่องทางการเพลย์ออฟเท่านั้นจะได้ผ่านเข้าสู่เอเอฟซีคัพ 2020 รอบแบ่งกลุ่ม[2]
ตารางการแข่งขัน
แก้ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบมีดังต่อไปนี้.[1][3]
รอบ | วันแข่งขัน |
---|---|
รอบคัดเลือกรอบ 1 | 14 มกราคม 2563 |
รอบคัดเลือกรอบ 2 | 21 มกราคม 2563 |
รอบเพลย์ออฟ | 28 มกราคม 2563 |
สายการแข่งขัน
แก้สายการแข่งขันของรอบคัดเลือกเพลย์ออฟสำหรับแต่ละโซนเป็นการกำหนดขึ้นโดยเอเอฟซีซึ่งขึ้นอยู่กับอันดับสมาคมของแต่ละทีม โดยทีมที่มาจากสมาคมที่มีอันดับสูงกว่าจะได้เป็นเจ้าภาพสำหรับนัดนั้น, โดยได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการโดยเอเอฟซีก่อนที่จะถึงรอบแบ่งกลุ่มในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 2019 แต่ละทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจัดวางอยู่ในรอบเพลย์ออฟคู่เดียวกันได้.
เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 1
แก้รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
อัลอัยน์ | 1 | ||||||||||||
บุนยอดกอร์ | 0 | ||||||||||||
บุนยอดกอร์ | 4 | ||||||||||||
อัล-ซอว์ราอา | 1 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 2
แก้รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
อัลอะฮ์ลี | 1 | ||||||||||||
อิสติคลอล | 0 | ||||||||||||
โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ | 0 | ||||||||||||
อิสติคลอล | 1 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 3
แก้- ชาห์ร โคโดร จะได้ผ่านเข้าสู่กลุ่ม บี (ตัดสินใจโดยการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม).
รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
อัลไซลียา | 0 (4) | ||||||||||||
ชาห์ร โคโดร | 0 (5) | ||||||||||||
ชาห์ร โคโดร | 2 | ||||||||||||
เชนไน ซิตี | 0 | อัล-ริฟฟา | 1 | ||||||||||
อัล-ริฟฟา | 1 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 4
แก้รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
อัล-รายยาน | 0 | ||||||||||||
เอสเตกลาล | 5 | ||||||||||||
เอสเตกลาล | 3 | ||||||||||||
อัล-ไฟซาลี | 1 | อัล-คูเวต | 0 | ||||||||||
อัล-คูเวต (ต่อเวลา) |
2 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 1
แก้รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
เอฟซีโซล | 4 | ||||||||||||
เคดาห์ | 1 | ||||||||||||
เคดาห์ | 5 | ||||||||||||
ไต้ โป | 1 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 2
แก้- Shanghai SIPG จะได้ผ่านเข้าสู่กลุ่ม เอช.
รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 3 | ||||||||||||
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 0 | ||||||||||||
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 2 | ||||||||||||
นครโฮจิมินห์ | 1 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 3
แก้รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
เอฟซี โตเกียว | 2 | ||||||||||||
เซเรส–เนกรอส | 0 | ||||||||||||
การท่าเรือ | 0 | ||||||||||||
เซเรส–เนกรอส | 3 | เซเรส–เนกรอส | 1 | ||||||||||
ชาน ยูไนเต็ด | 2 | ||||||||||||
เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 4
แก้- เมลเบิร์นวิกตอรี จะได้ผ่านเข้าสู่กลุ่ม อี.
รอบคัดเลือกรอบ 1 | รอบคัดเลือกรอบ 2 | รอบเพลย์ออฟ | |||||||||||
คาชิมะ แอนต์เลอส์ | 0 | ||||||||||||
เมลเบิร์นวิกตอรี | 1 | ||||||||||||
เมลเบิร์นวิกตอรี | 5 | ||||||||||||
ทัมปิเนสโรเวอร์ | 3 | บาหลี ยูไนเต็ด | 0 | ||||||||||
บาหลี ยูไนเต็ด (ต่อเวลา) |
5 | ||||||||||||
รอบคัดเลือกรอบ 1
แก้สรุปผลการแข่งขัน
แก้ทั้งหมด 8 ทีมที่ลงเล่นในรอบคัดเลือกรอบ 1.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เชนไน ซิตี | 0–1 | อัล-ริฟฟา |
อัล-ไฟซาลี | 1–2 (ต่อเวลา) |
อัล-คูเวต
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เซเรส–เนกรอส | 3–2 | ชาน ยูไนเต็ด |
ทัมปิเนสโรเวอร์ | 3–5 (ต่อเวลา) |
บาหลี ยูไนเต็ด
|
โซนตะวันตก
แก้อัล-ไฟซาลี | 1–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | อัล-คูเวต |
---|---|---|
อัล-จบะรัต 10' | รายงานสด รายงานสถิติ |
นัสเซอร์ 34' อัล ฮะเจรี 119' |
โซนตะวันออก
แก้เซเรส–เนกรอส | 3–2 | ชาน ยูไนเต็ด |
---|---|---|
เมนดี 5' มาราญง 40' พอร์เทเรีย 79' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ซิน มิน ตุน 73' ฌาวา 87' |
ทัมปิเนสโรเวอร์ | 3–5 (ต่อเวลาพิเศษ) | บาหลี ยูไนเต็ด |
---|---|---|
คอปิตอวิช 43' เว็บบ์ 53' ระห์มัต 67' (เข้าประตูตัวเอง) |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ปลัตเจ 8', 13' ระห์มัต 82' ลิลิปาลี 100' ไซมิมา 115' |
รอบคัดเลือกรอบ 2
แก้สรุปผลการแข่งขัน
แก้ทั้งหมด 16 ทีมที่ลงเล่นในรอบคัดเลือกรอบ 2: สิบสองทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้ และสี่ทีมผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบ 1.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
บุนยอดกอร์ | 4–1 | อัล-ซอว์ราอา |
โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ | 0–1 | อิสติคลอล |
ชาห์ร โคโดร | 2–1 | อัล-ริฟฟา |
เอสเตกลาล | 3–0 | อัล-คูเวต
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เคดาห์ | 5–1 | ไต้ โป |
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 2–1 | นครโฮจิมินห์ |
การท่าเรือ | 0–1 | เซเรส–เนกรอส |
เมลเบิร์นวิกตอรี | 5–0 | บาหลี ยูไนเต็ด
|
โซนตะวันตก
แก้บุนยอดกอร์ | 4–1 | อัล-ซอว์ราอา |
---|---|---|
คอลมูคาเมดอฟ 8' (ลูกโทษ) มูร์ตาโซเอฟ 46', 85' ฟาร์โคดอฟ 80' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ควาซิม 89' |
ชาห์ร โคโดร | 2–1 | อัล-ริฟฟา |
---|---|---|
คะลัตบะรี 19' กะเซมิเนจัด 83' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ซาอีด 35' |
โซนตะวันออก
แก้เคดาห์ | 5–1 | ไต้ โป |
---|---|---|
แฌ็ตแฌ 3', 21', 90+2' อัซมัน 47', 66' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ชาน มัน ไฟ 68' |
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 2–1 | นครโฮจิมินห์ |
---|---|---|
กูเอสตา 53' บูแวนู 74' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ป. ดิอากิเต 77' |
เมลเบิร์นวิกตอรี | 5–0 | บาหลี ยูไนเต็ด |
---|---|---|
บาชา 14' โฮป 37' ครูส 59' ตอยโวเนิน 81' คัมโซบา 90' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
รอบเพลย์ออฟ
แก้สรุปผลการแข่งขัน
แก้ทั้งหมด 16 ทีมที่ลงเล่นในรอบเพลยืออฟ: แปดทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้ และแปดทีมผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบ 2.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัลอิน | 1–0 | บุนยอดกอร์ |
อัลอะฮ์ลี | 1–0 | อิสติคลอล |
อัสซัยลิยะฮ์ | 0–0 (ต่อเวลา) (4–5 ล) |
ชาห์ร โคโดร |
อัรรอยยาน | 0–5 | เอสเตกลาล
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เอฟซีโซล | 4–1 | เคดาห์ |
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 3–0 | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด |
เอฟซีโตเกียว | 2–0 | เซเรส–เนกรอส |
คาชิมะ แอนต์เลอส์ | 0–1 | เมลเบิร์นวิกตอรี
|
โซนตะวันตก
แก้อัลอิน | 1–0 | บุนยอดกอร์ |
---|---|---|
จูมา 78' | รายงาน |
อัสซัยลิยะฮ์ | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | ชาห์ร โคโดร |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
บูสซูฟา อันซาริฟาร์ด อึมบ็อดจี ซิดดิค เบลฮัดจ์ |
4–5 | ไซโฟลลาฮี ซาร์ลัค กาเซมิเนจัด ฟาราจี ซาเดกฮี |
อัรรอยยาน | 0–5 | เอสเตกลาล |
---|---|---|
รายงาน | ดิอาบาเต 8' กาเอดี 40', 47' โมตาฮารี 84', 90+1' |
โซนตะวันออก
แก้เอฟซีโซล | 4–1 | เคดาห์ |
---|---|---|
พัก จู-ย็อง 39' (ลูกโทษ) พัก ด็อง-จิน 49' โอสมาร์ 63' อาลีบาเอฟ 90+2' |
รายงาน | โอสมาร์ 52' (เข้าประตูตัวเอง) |
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 3–0 | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด |
---|---|---|
หลี เชิงหลง 75' ม. อาร์เนาทอวิช 90+1' ฮุลกี 90+3' (ลูกโทษ) |
รายงาน |
เอฟซีโตเกียว | 2–0 | เซเรส–เนกรอส |
---|---|---|
มุโระยะ 48' อาไดล์ตง 89' |
รายงาน |
หมายเหตุ
แก้- ↑ The identity of the second play-off team from Japan was not known at the time of the group stage draw.
- ↑ เชนไน ซิตี ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ เดอะ อารีนา, อะห์มดาบาด, แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าปกติประจำของพวกเขา สนามกีฬาเนห์รู, โคอิมบาโตเร.
- ↑ The Bunyodkor v Al-Zawraa match, originally to be played on 21 January 2020, was re-scheduled to 22 January 2020, to avoid a clash with the Lokomotiv Tashkent v Istiklol match, also to be played in Tashkent, on the same day.[5]
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 สหพันธ์ฟุตบอลสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ได้รับจดหมายฉบับหนึ่งจาก สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 ได้ประกาศว่าทีมที่มจากประเทศอิหร่านจะไม่ได้รับอนุญาตให้เป็นเจ้าภาพแมตช์เหย้าของพวกเขาในประเทศพวกเขาได้เนื่องจาก ความกังวลด้านความปลอดภัย.[6][7] สี่ทีมเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกที่มาจากอิหร่านได้ประกาศไว้เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2563 นั้นพวกเขาจะถูกถอนทีมจากทัวร์นาเมนต์ถ้าการติดโทษแบนไม่ได้ถูกยกเลิก.[8][9] As a result, the two preliminary round 2 matches which the Iranian teams were supposed to host, Shahr Khodro v Al-Riffa and Esteghlal v Al-Kuwait, were not played as scheduled on 21 January 2020 (at 16:20 UTC+3:30 at Imam Reza Stadium, Mashhad and at 18:00 UTC+3:30 at Azadi Stadium, Tehran respectively), and the AFC announced on 22 January 2020 that the matches were re-scheduled to 25 January 2020 in the United Arab Emirates.[10][11]
- ↑ แมตช์ระหว่าง เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี พบ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ลงเล่นแมตช์นี้ปราศจากผู้ชมตาม การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่.[12][13]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 6 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-06. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
- ↑ 2.0 2.1 "2020 AFC Champions League Competition Regulations". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
- ↑ "AFC Champions League 2020 Official Match Schedule". AFC.
- ↑ "Chennai City vs. Al Riffa – 14 January 2020". Soccerway. Perform Group. 14 มกราคม พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม พ.ศ. 2563.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
และ|date=
(help) - ↑ "«Ал Завра»га қарши ўйин ҳақида". FC Bunyodkor. 11 January 2020.
- ↑ "اطلاعیه روابط عمومی". Football Federation Islamic Republic of Iran. 17 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
- ↑ "Another blow to Iranian sport as AFC ban country from hosting Champions League football". Inside The Games. 17 January 2020.
- ↑ "Iranian football teams stand against AFC's decision". Tehran Times. 18 January 2020.
- ↑ "Iran: 'Clubs to quit AFC Champions League over home game ban'". BBC Sport. 18 January 2020.
- ↑ "AFC Statement". AFC. 22 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-26. สืบค้นเมื่อ 2020-01-25.
- ↑ "AFC moves Champions League matches out of Iran". Reuters. 22 January 2020.
- ↑ "官方:上港的亚冠资格赛将在大年初四正常举行,比赛将空场" (ภาษาจีน). Dongqiudi. 25 January 2020.
- ↑ "Shanghai SIPG FC AFC Champions League Preliminary Round match". AFC. 26 January 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- AFC Champions League, the-AFC.com
- AFC Champions League 2020, stats.the-AFC.com