ประเทศกรีเนดา

(เปลี่ยนทางจาก เกรเนดา)

กรีเนดา[7] (อังกฤษ: Grenada) เป็นประเทศที่เป็นเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

กรีเนดา

คำขวัญ"Ever Conscious of God We Aspire, Build and Advance as One People"[1]
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
เซนต์จอร์เจส
12°03′N 61°45′W / 12.050°N 61.750°W / 12.050; -61.750
ภาษาราชการ
กลุ่มชาติพันธุ์
(ประมาณ ค.ศ. 2011[2])
ศาสนา
(ประมาณ ค.ศ. 2011)[2]
เดมะนิมชาวเกรนาดา[3]
การปกครองรัฐเดี่ยว สองพรรค รัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
Cécile La Grenade
ดิกคอน มิตเชลล์
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
ก่อตั้ง
3 มีนาคม ค.ศ. 1967
• เป็นเอกราชจากสหราชอาณาจักร
7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974
13 มีนาคม ค.ศ. 1979
• ฟื้นฟูรัฐธรรมนูญ
4 ธันวาคม ค.ศ. 1984
พื้นที่
• รวม
348.5 ตารางกิโลเมตร (134.6 ตารางไมล์) (อันดับที่ 184)
1.6
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
107,317[4] (อันดับที่ 194)
318.58 ต่อตารางกิโลเมตร (825.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 45)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2019 (ประมาณ)
• รวม
1.801 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
16,604 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2019 (ประมาณ)
• รวม
1.249 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
11,518 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.779[6]
สูง · อันดับที่ 74
สกุลเงินดอลลาร์แคริบเบียนตะวันออก (XCD)
เขตเวลาUTC−4 (เวลามาตรฐานแอตแลนติก)
ขับรถด้านซ้าย
รหัสโทรศัพท์+1-473
โดเมนบนสุด.gd
  1. บวกArawak / Carib.

ภูมิศาสตร์

แก้

ประวัติศาสตร์

แก้

อาณานิคมฝรั่งเศส

แก้

ในอดีตกรีเนดาเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมืองอินเดียเผ่าแคริบ (Carib) และอาราวัก (Arawaks) ต่อมาในปี ค.ศ. 1498 โคลัมบัสได้ค้นพบดินแดนแห่งนี้ โดยในระยะแรกถูกเรียกว่า กอนเซปซีออน (Concepción) จนในประมาณศตวรรษที่ 18 จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นกรีเนดา (Grenada) อย่างไรก็ดี แม้ว่ากรีเนดา จะถูกค้นพบโดยโคลัมบัส แต่ก็มิได้เป็นอาณานิคมของสเปนนานนัก โดยใน ค.ศ. 1650 ตกไปอยู่ใต้การปกครองของฝรั่งเศส ต่อมาเมื่อเกิดการปฏิวัติโค่นล้มรัฐบาลในปี ในปี ค.ศ. 1763

อาณานิคมสหราชอาณาจักร

แก้

สหราชอาณาจักรก็ได้เข้าปกครองกรีเนดา ภายหลังจากที่มีชัยชนะต่อฝรั่งเศสในสงครามเจ็ดปี กรีเนดามีฐานะเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรจนถึง ค.ศ. 1974 เมื่อได้รับเอกราชในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ของปีนั้น

การเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราช

แก้

การเมืองก่อนการรัฐประหาร ค.ศ. 1983

แก้

สหรัฐอเมริกาเข้าแทรงแซงทางการเมือง

แก้

ค.ศ. 1983 กองทัพสหรัฐอเมริกาได้เข้าแทรกแซงประเทศในแถบแคริบเบียนเพื่อสร้างเสภียรภาพทางการเมืองในกรีเนดา

ก่ารก่อรัฐประหาร และ ประหารชีวิตมอเรียส บิชอฟส์

แก้

ปฏิบัติการทางทหารโดยสหรัฐ และ พันธมิตร

แก้

กองทัพเรือ

แก้

การเมืองการปกครอง

แก้

รูปแบบการปกครองของกรีเนดาเป็นแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รัฐธรรมนูญปัจจุบัน 19 ธันวาคม 2514 ประมุขของประเทศ สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านทางผู้สำเร็จราชการ (Governer-General) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรีกรีเนดา

บริหาร

แก้

หัวหน้าฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือ นาย Keith Mitchell (เข้าดำรงตำแหน่งเมื่อ 22 มิถุนายน 2538 ฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรีได้รับการเลือกตั้งจากเสียงส่วนใหญ่ของสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วจะได้แก่หัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมาก โดยจะได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จราชการ และนายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้สรรหาและจัดตั้งคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเป็น 6 เขต ได้แก่ Saint Andrew, Saint David, Saint George, Saint John, Saint Mark, Saint Patrick และอีก 1 เขตปกครองตนเอง คือ Carriacou and Petit Martinique

นิติบัญญัติ

แก้

ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสมาชิกมีจำนวนทั้งสิ้น 13 คน โดย 10 คนมาจากการเสนอชื่อของพรรครัฐบาลและ และอีก 3 คนมาจากการเสนอชื่อของหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนทั้งสิ้น 15 คน มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี

พรรคการเมือง

แก้

- พรรค New National Party (NNP) เป็นพรรครัฐบาล โดยในปัจจุบันครองที่นั่งทั้งหมด (15 ที่นั่ง) ในสภาผู้แทนราษฎร - พรรค National Democratic Congress (NDC) - พรรค Grenada United Labor Party (GULP) - พรรค The National Party (TNP) - พรรค Maurice Bishop Patriotic Movement (MBPM) - พรรค Unity Labor Party (ULP)

ตุลาการ

แก้

ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายตุลาการประกอบด้วย ศาลแพ่ง ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา อำนาจในการพิจารณาไต่สวน อยู่ภายใต้อำนาจของศาลสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก ("en:Eastern Caribbean Supreme Court") มีศาลฎีกาอยู่ในตำแหน่งสูงสุด การยื่นอุทธรณ์นั้นผ่านการพิจารณาจากศาลอุทธรณ์ ส่วนการยื่นฎีกาจะยื่นให้คณะกรรมการฝ่ายตุลาการแห่งองคมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร (Privy Council) เป็นผู้พิจารณา

สิทธิมนุษยชน

แก้

นโยบายต่างประเทศ

แก้

กองทัพ

แก้

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

กรีเนดาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (parishes) ได้แก่

ส่วน กาเรียกูและเปอตีมาร์ตินีก (Carriacou and Petit Martinique) เกาะ 2 เกาะในหมู่เกาะเกรนาดีนส์มีฐานะเป็นเมืองขึ้น (dependency)

เศรษฐกิจ

แก้

โครงสร้าง

แก้

การท่องเที่ยว

แก้

โครงสร้างพื้นฐาน

แก้

คมนาคม และ โทรคมนาคม

แก้

คมนาคม

แก้

โทรคมนาคม

แก้

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

แก้

การศึกษา

แก้

สาธารณสุข

แก้

สวัสดิการสังคม

แก้

ประชากรศาสตร์

แก้

เชื้อชาติ

แก้

ศาสนา

แก้

ภาษา

แก้

กีฬา

แก้

วัฒนธรรม

แก้

สถาปัตยกรรม

แก้

ดนตรี

แก้

อาหาร

แก้

สื่อสารมวลชน

แก้

วันหยุด

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Government of Grenada Website". สืบค้นเมื่อ 1 November 2007.
  2. 2.0 2.1 "Grenada - The World Factbook". The World Factbook. Central Intelligence Agency (CIA). สืบค้นเมื่อ 15 January 2021.
  3. "About Grenada, Carriacou & Petite Martinique | GOV.gd". www.gov.gd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2009. สืบค้นเมื่อ 31 July 2017.
  4. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Grenada". International Monetary Fund. 2018. สืบค้นเมื่อ 1 April 2018.
  6. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  7. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.

บรรณานุกรม

แก้
  • Adkin, Mark. 1989. Urgent Fury: The Battle for Grenada: The Truth Behind the Largest US Military Operation Since Vietnam. Trans-Atlantic Publications. ISBN 0-85052-023-1
  • Beck, Robert J. 1993. The Grenada Invasion: Politics, Law, and Foreign Policy Decisionmaking. Boulder: Westview Press. ISBN 0-8133-8709-4
  • Brizan, George 1984. Grenada Island of Conflict: From Amerindians to People's Revolution 1498–1979. London, Zed Books Ltd., publisher; Copyright, George Brizan, 1984.
  • Martin, John Angus. 2007. A–Z of Grenada Heritage. Macmillan Caribbean.
  • "Grenada Heritage". Grenadaheritage.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2011. สืบค้นเมื่อ 28 June 2010.
  • Sinclair, Norma. 2003. Grenada: Isle of Spice (Caribbean Guides). Interlink Publishing Group; 3rd edition. ISBN 0-333-96806-9
  • Stark, James H. 1897. Stark's Guide-Book and History of Trinidad including Tobago, Grenada, and St. Vincent; also a trip up the Orinoco and a description of the great Venezuelan Pitch Lake. Boston, James H. Stark, publisher; London, Sampson Low, Marston & Company.
  • Steele, Beverley A. (2003). Grenada: A History of Its People (Island Histories). Oxford: MacMillan Caribbean. ISBN 978-0-333-93053-3.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้