เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 44 และเป็นอักษรตัวสุดท้ายในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฮ นกฮูก"

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

อักษร ฮ ใช้เป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /h/ แต่ไม่มีในตำแหน่งตัวสะกด

การเขียน

แก้

เขียนเป็นรูปวงกลม แล้วลากเส้นตรงลงไปข้างล่างเล็กน้อย แล้วลากเส้นตรงไปทางขวา แล้วลากเส้นตรงขึ้นไปข้างบน แล้วเขียนเป็นวงรี สุดท้ายวาด 1 ใน 4 ของวงกลม

ประวัติ

แก้

พยัญชนะไทยที่ปรากฏในจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง มีจํานวน 39 ตัว ไม่ปรากฏตัว ฮ ในสมัยอยุธยาพบตัวอักษร ฮ ครั้งแรกในสมุดไทยเรื่อง นันโทปนันทสูตรคำหลวง ซึ่งแต่งขึ้นใน พ.ศ. 2279[1]

อ้างอิง

แก้
  1. จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ (มิถุนายน 2555 - ตุลาคม 2555). "อักษรไทยย่อในสมุดไทยเรื่องนันโทปนันทสูตรคําหลวงฯ". วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 10 (1). {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)