อินโดนีเซียแอร์เอเชีย
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย (อังกฤษ: Indonesia AirAsia) เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ที่อยู่ในประเทศอินโดนีเซีย ให้บริการเที่ยวบินในประเทศอินโดนีเซีย และ ระหว่างประเทศ โดยมีฐานบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติ ซูการ์โนฮัตตา จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ณ วันที่ 15 เมษายน 2552 เที่ยวบินภายในประเทศทั้งหมด ของอินโดนีเซียแอร์เอเชียจาก ท่าอากาศยานนานาชาติ ซูการ์โนฮัตตา จาการ์ตาได้เริ่มปฏิบัติการจาก อาคารเทอร์มินอล 3 แต่เที่ยวบินระหว่าประเทศยังคงปฏิบัติการจาก อาคารเทอร์มินอล 2D [2] ก่อนที่จะย้ายไปอาคารเทอร์มินอล 3 ในเวลาต่อมา
| |||||||
ก่อตั้ง | 1999 (ในชื่อ Awair) | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มดำเนินงาน | 22 มิถุนายน 2000 (ในชื่อ Awair) 1 ธันวาคม 2005 (ในชื่อ อินโดนีเซียแอร์เอเชีย) | ||||||
ฐานการบิน | |||||||
สะสมไมล์ | BIG Loyalty Programme | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 26 | ||||||
จุดหมาย | 21 | ||||||
บริษัทแม่ | PT Fersindo Nusaperkasa | ||||||
สำนักงานใหญ่ | จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย | ||||||
บุคลากรหลัก | |||||||
เว็บไซต์ | www |
อินโดนีเซียแอร์เอเชียได้รับการจัดอันดับจากการบินพลเรือนของอินโดนีเซียให้อยู่ในอันดับที่ 1 ทางด้านความปลอดภัยของอากาศยานและสายการบิน[3] และ ยังครองส่วนแบ่งการตลาดภายในประเทศ มากถึงร้อยละ 41.50.ด้วย[4]
ประวัติ
แก้อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เริ่มมาจากสายการบิน Awair (Air Wagon International) ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายAbdurrahman Wahid, อดีตประธาน Nahdlatul Ulama Muslim organisation นายAbdurrahman Wahid มีหุ้นอยู่ในสายการบินถึง 40% และเริ่มดำเนินการเมื่อ 22 มิถุนายน 2543 ด้วยเครื่องบินแอร์บัส 300/310 แต่ทุกเที่ยวถูกระงับในปี 2545, สายการบินAwair ได้ตัดสินเข้าร่วมกับ แอร์เอเชีย ซึ่งเป็นสายการบินจากมาเลเซียในเดือธันวาคม ปี 2547 และเปลี่ยนชื่อเป็น อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2548 เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ สายการบิน แอร์เอเชีย
บริษัท CIMB หลักทรัพย์อินโดนีเซียและเครดิตสวิสหลักทรัพย์ประเทศอินโดนีเซีย ได้ร่วมเข้าถือหุ้นด้วย 20%[5]
เส้นทางการบิน
แก้- ปัจจุบันสายการบินอินโดนีเซียแอร์เอเชียได้ทำการบินไปยังจุดหมายปลายทางดังต่อไปนี้
- ประเทศอินโดนีเซีย
- จาการ์ตา - ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา ฐานการบินหลัก
- บาหลี - ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร ฐานการบินหลัก
- บันดุง - ท่าอากาศยานนานาชาติฮุสเซอิน ซัสตราเนการ่าฐานการบินหลัก
- เมดาน - ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลานามูฐานการบินหลัก
- สุราบายา - ท่าอากาศยานนานาชาติจูอันดาฐานการบินหลัก
- มากัซซาร์ - ท่าอากาศยานนานาชาติสุลต่าน ฮัสซันนูดินฐานการบินหลัก
- ย็อกยาการ์ตา - ท่าอากาศยานนานาชาติอดิสุจิบโต
- เซมารัง - ท่าอากาศยานนานาชาติ Achmad Yani
- เปกันบารู - ท่าอากาศยานนานาชาติ สุลต่าน Syarif Qasim
- มานาโด - ท่าอากาศยานนานาชาติ Sam Ratulangi
- ประเทศมาเลเซีย
- สาธารณรัฐสิงคโปร์
- ประเทศไทย
- เครือรัฐออสเตรเลีย
- ไทยแอร์เอเชีย FD, แอร์เอเชียมาเลเซีย AK, อินโดนีเซียแอร์เอเชีย QZ Air Asia วางแผนจะลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองในวันที่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นไป
ฝูงบิน
แก้จำนวนฝูงบินของสายการบินอินโดนีเซียแอร์เอเชีย วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556[6]
ลำดับ | เครื่องบิน | ทะเบียน | จำนวน | สั่งซื้อ | อายุเครื่อง | จำนวนผู้โดยสาร | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
P | Y | เส้นทางบิน | |||||||
1 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXA | 1 | — | 4 ปี 7 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
2 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXC | 1 | — | 4 ปี 7 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ปลดประจำการ เพราะเกิดอุบัติเหตุ อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501 |
3 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXD | 1 | — | 5 ปี 9 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
4 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXE | 1 | — | 4 ปี 5 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
5 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXF | 1 | — | 4 ปี 4 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
6 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXG | 1 | — | 4 ปี 3 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
7 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXH | 1 | — | 4 ปี 2 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
8 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXI | 1 | — | 3 ปี 9 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
9 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXJ | 1 | — | 3 ปี 7 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
10 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXK | 1 | — | 3 ปี 5 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
11 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXL | 1 | — | 3 ปี เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
12 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXM | 1 | — | 2 ปี 6 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
13 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXR | 1 | — | 6 ปี 8 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
14 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXS | 1 | — | 6 ปี 7 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
15 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXT | 1 | — | 5 ปี 1 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
16 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXU | 1 | — | 4 ปี 9 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
17 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXV | 1 | — | 1ปี 6 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
18 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXW | 1 | — | 1 ปี 1 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
19 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXX | 1 | — | 9 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
20 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXY | 1 | — | 6 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
21 | แอร์บัส A320-216 | PK-AXZ | 1 | — | 5 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
22 | แอร์บัส A320-214 | PK-AZA | 1 | — | 5 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
23 | แอร์บัส A320-214 | PK-AZC | 1 | — | 8 ปี 4 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
24 | แอร์บัส A320-214 | PK-AZD | 1 | — | 3 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
25 | แอร์บัส A320-214 | PK-AZE | 1 | — | 1 ปี 3 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
26 | แอร์บัส A320-214 | PK-AZF | 1 | — | 1 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |
รวม | 25 |
กลุ่มแอร์เอเชีย[7] กลุ่มแอร์เอเชียเป็นกลุ่มสายการบินต้นทุนต่ำรายใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียที่ดำเนินการโดยฝูงบินแอร์บัสทั้งหมด โดยสายการบินยังเป็นลูกค้าเครื่องบินตระกูล เอ320 รายใหญ่ที่สุดด้วยคำสั่งซื้อเครื่องบินทั้งหมด 475 ลำ แบ่งออกเป็น เอ320 นีโอ จำนวน 264 ลำ และเอ320 ซีโอ จำนวน 211 ลำ แอร์เอเชียเอ็กซ์ สั่งซื้อเครื่องบินลำตัวกว้าง เอ330-300 จำนวน 26 ลำ และ เอ350 เอ็กซ์ดับเบิลยูบีอีกจำนวน 10 ลำ ปัจจุบันเครื่องบินแอร์บัสทั้งสิ้น 141 ลำกำลังให้บริการจาก 16 ฐานการบินของกลุ่มแอร์เอเชีย [8] ( ไทยแอร์เอเชีย FD, แอร์เอเชียมาเลเซีย AK, อินโดนีเซียแอร์เอเชีย QZ, แอร์เอเชียเจแปน JW, แอร์เอเชียฟิลิปปินส์ PQ, แอร์เอเชียเซสต์ Z2, แอร์เอเชีย เอกซ์ D7, ไทยแอร์เอเชียเอกซ์ XJ )
อุบัติการณ์และอุบัติเหตุ
แก้- 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557 - อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501 ออกเดินทางจากท่าอากาศยานสุราบายาของอินโดนีเซีย มุ่งหน้าไปสิงคโปร์ มีผู้โดยสารกว่า 155คน สูญหายไป หลังขาดการติดต่อกับศูนย์ควบคุมการบินจาการ์ตา เมื่อเวลาประมาณ 07.24 น. ตามเวลาท้องถิ่น
อ้างอิง
แก้- ↑ "Indonesia AirAsia names new chief executive".
- ↑ http://www.airasia.com/site/id/en/page.jsp?reference=cgkterm3 AirAsia domestic fligts operatefrom Terminal 3
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-22. สืบค้นเมื่อ 2012-03-29.
- ↑ "AirAsia Indonesia to operate 34 Airbus planes in 2015". March 6, 2012.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-06. สืบค้นเมื่อ 2012-03-29.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-31. สืบค้นเมื่อ 2012-09-09.
- ↑ [1]
- ↑ [2]