ชุดตัวหนังสือพยางค์เชโรกี
ชุดตัวหนังสือพยางค์เชโรกี เป็นชุดตัวหนังสือพยางค์ที่ประดิษฐ์โดยซีโควยาแห่งเผ่าเชโรกีในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1810 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1820 เพื่อเขียนภาษาเชโรกี สิ่งประดิษฐ์ของเขาเป็นสิ่งที่น่าสังเกตเป็นพิเศษเนื่องจากเขาไม่รู้หนังสือจนกระทั่วประดิษฐ์อักษรนี้ขึ้นมา[3] ตอนแรกเขาทดลองด้วยตัวหนังสือคำ แต่ภายหลังระบบของเขาพัฒนาไปเป็นชุดตัวหนังสือพยางค์ ในระบบนี้ แต่ละสัญลักษณ์ทำหน้าที่เป็นพยางค์แทนที่จะเป็นหน่วยเสียงเดียว ตัวอักษร 85 ตัว (เดิมมี 86 ตัว)[4] ให้วิธีการที่เหมาะสมสำหรับการเขียนภาษาเชโรกี ถึงแม้ว่าสัญลักษณ์บางส่วนดูเหมือนอักษรละติน, กรีก, ซีริลลิก และกลาโกลิติก ทั้งหมดไม่ได้แทนเสียงเดียวกัน
เชโรกี | |
---|---|
Tsa-la-gi ("เชโรกี") เขียนด้วยชุดตัวหนังสือพยางค์เชโรกี | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | คริสต์ทศวรรษ 1820[1] – ปัจจุบัน[2] |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาเชโรกี |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Cher (445), Cherokee |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Cherokee |
ช่วงยูนิโคด |
|
รายละเอียด
แก้ตัวหนังสือเชโรกีเป็นตัวหนังสือพยางค์ แต่ละตัวแทนหนึ่งพยางค์คล้ายคานะในภาษาญี่ปุ่น แต่เดิมมี 86 ตัวยกเลิกไป 1 ตัวเหลือ 85 ตัว มีสระหลักหกเสียงได้แก่ a, e, i, o, u, v เมื่อต้องการสร้างคำก็นำหลายพยางค์มารวมกัน เช่นคำว่า "วิกิพีเดีย" เขียนได้ว่า ᏫᎩᏇᏗᏯ ประกอบด้วย Ꮻ (wi) + Ꭹ (gi) + Ꮗ (que) + Ꮧ (di) + Ꮿ (ya) เป็นต้น ตัวหนังสือบางตัวคล้ายอักษรละตินแต่ออกเสียงต่างกันโดยสิ้นเชิง
ตารางข้างล่างแสดงชุดตัวหนังสือพยางค์ตามลำดับการอ่าน ซ้ายไปขวา บนลงล่าง ซึ่งจัดเรียงโดย Samuel Worcester พร้อมกับคำทับศัพท์ที่ใช้กันทั่วไป[5][6]
ตารางข้างล่างใช้อักษรยูนิโคดจากบล็อก Cherokee สำหรับภาพอีกรูปแบบ ดู File:Cherokee Syllabary.svg | ||||||||||||||||||||
พยัญชนะ | a | e | i | o | u | v [ə̃] | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Ø | Ꭰ | Ꭱ | Ꭲ | Ꭳ | Ꭴ | Ꭵ | ||||||||||||||
g / k | Ꭶ | Ꭷ | Ꭸ | Ꭹ | Ꭺ | Ꭻ | Ꭼ | |||||||||||||
h | Ꭽ | Ꭾ | Ꭿ | Ꮀ | Ꮁ | Ꮂ | ||||||||||||||
l | Ꮃ | Ꮄ | Ꮅ | Ꮆ | Ꮇ | Ꮈ | ||||||||||||||
m | Ꮉ | Ꮊ | Ꮋ | Ꮌ | Ꮍ | Ᏽ* | ||||||||||||||
n / hn | Ꮎ | Ꮏ | Ꮐ | Ꮑ | Ꮒ | Ꮓ | Ꮔ | Ꮕ | ||||||||||||
qu [kʷ] |
Ꮖ | Ꮗ | Ꮘ | Ꮙ | Ꮚ | Ꮛ | ||||||||||||||
s | Ꮝ | Ꮜ | Ꮞ | Ꮟ | Ꮠ | Ꮡ | Ꮢ | |||||||||||||
d / t | Ꮣ | Ꮤ | Ꮥ | Ꮦ | Ꮧ | Ꮨ | Ꮩ | Ꮪ | Ꮫ | |||||||||||
dl / tl [d͡ɮ] / [t͡ɬ] |
Ꮬ | Ꮭ | Ꮮ | Ꮯ | Ꮰ | Ꮱ | Ꮲ | |||||||||||||
ts [t͡s] |
Ꮳ | Ꮴ | Ꮵ | Ꮶ | Ꮷ | Ꮸ | ||||||||||||||
w [ɰ] |
Ꮹ | Ꮺ | Ꮻ | Ꮼ | Ꮽ | Ꮾ | ||||||||||||||
y [j] |
Ꮿ | Ᏸ | Ᏹ | Ᏺ | Ᏻ | Ᏼ | ||||||||||||||
* อักษร Ᏽ เคยทำหน้าที่เป็นพยางค์ mv แต่ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว[note 1] |
อักษรละติน 'v' ที่ถอดเสียงในคอลัมน์สุดท้าย ทำหน้าที่เป็นสระนาสิก /ə̃/
ยูนิโคด
แก้ภาษาเชโรกีได้รับการบรรจุลงในยูนิโคดเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1999 ในรุ่น 3.0 จากนั้นหลังการเผยแพร่รุ่น 8.0 ในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 2015 ภาษาเชโรกีจึงถูกจัดเป็นอักษรสองขนาด (bicameral script) โดยมีการขยายรวมอักษรเชโรกีตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด และรวมอักษรที่เลิกใช้งานด้วย (Ᏽ)
บล็อก
แก้บล็อกยูนิโคดแรกสำหรับภาษาเชโรกีอยู่ที่ U+13A0–U+13FF ประกอบด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด 86 ตัว และตัวพิมพ์เล็ก 6 ตัว:[note 2]
เชโรกี[1][2] Official Unicode Consortium code chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+13Ax | Ꭰ | Ꭱ | Ꭲ | Ꭳ | Ꭴ | Ꭵ | Ꭶ | Ꭷ | Ꭸ | Ꭹ | Ꭺ | Ꭻ | Ꭼ | Ꭽ | Ꭾ | Ꭿ |
U+13Bx | Ꮀ | Ꮁ | Ꮂ | Ꮃ | Ꮄ | Ꮅ | Ꮆ | Ꮇ | Ꮈ | Ꮉ | Ꮊ | Ꮋ | Ꮌ | Ꮍ | Ꮎ | Ꮏ |
U+13Cx | Ꮐ | Ꮑ | Ꮒ | Ꮓ | Ꮔ | Ꮕ | Ꮖ | Ꮗ | Ꮘ | Ꮙ | Ꮚ | Ꮛ | Ꮜ | Ꮝ | Ꮞ | Ꮟ |
U+13Dx | Ꮠ | Ꮡ | Ꮢ | Ꮣ | Ꮤ | Ꮥ | Ꮦ | Ꮧ | Ꮨ | Ꮩ | Ꮪ | Ꮫ | Ꮬ | Ꮭ | Ꮮ | Ꮯ |
U+13Ex | Ꮰ | Ꮱ | Ꮲ | Ꮳ | Ꮴ | Ꮵ | Ꮶ | Ꮷ | Ꮸ | Ꮹ | Ꮺ | Ꮻ | Ꮼ | Ꮽ | Ꮾ | Ꮿ |
U+13Fx | Ᏸ | Ᏹ | Ᏺ | Ᏻ | Ᏼ | Ᏽ | ᏸ | ᏹ | ᏺ | ᏻ | ᏼ | ᏽ | ||||
หมายเหตุ
|
บล็อกเชโรกี ส่วนขยายอยู่ที่ U+AB70–U+ABBF ประกอบด้วยตัวพิมพ์เล็กที่เหลือ 80 ตัว
เชโรกี ส่วนขยาย[1] Official Unicode Consortium code chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+AB7x | ꭰ | ꭱ | ꭲ | ꭳ | ꭴ | ꭵ | ꭶ | ꭷ | ꭸ | ꭹ | ꭺ | ꭻ | ꭼ | ꭽ | ꭾ | ꭿ |
U+AB8x | ꮀ | ꮁ | ꮂ | ꮃ | ꮄ | ꮅ | ꮆ | ꮇ | ꮈ | ꮉ | ꮊ | ꮋ | ꮌ | ꮍ | ꮎ | ꮏ |
U+AB9x | ꮐ | ꮑ | ꮒ | ꮓ | ꮔ | ꮕ | ꮖ | ꮗ | ꮘ | ꮙ | ꮚ | ꮛ | ꮜ | ꮝ | ꮞ | ꮟ |
U+ABAx | ꮠ | ꮡ | ꮢ | ꮣ | ꮤ | ꮥ | ꮦ | ꮧ | ꮨ | ꮩ | ꮪ | ꮫ | ꮬ | ꮭ | ꮮ | ꮯ |
U+ABBx | ꮰ | ꮱ | ꮲ | ꮳ | ꮴ | ꮵ | ꮶ | ꮷ | ꮸ | ꮹ | ꮺ | ꮻ | ꮼ | ꮽ | ꮾ | ꮿ |
หมายเหตุ |
หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Sturtevant & Fogelson 2004, p. 337.
- ↑ "Cherokee language". www.britannica.com. Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
- ↑ Diamond, Jared (1999). Guns, Germs, and Steel: The Fates of Human Societies. New York: Norton. p. 228. ISBN 0393317552.
- ↑ Sturtevant & Fogelson 2004, p. 337.
- ↑ Walker & Sarbaugh 1993, pp. 72, 76.
- ↑ Giasson 2004, p. 42.
- ↑ "Syllabary Chart" (PDF). Cherokee Nation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 15 January 2018. สืบค้นเมื่อ 22 December 2020.
- ↑ Cushman 2013, p. 93.
- ↑ "Cherokee: Range: 13A0–13FF" (PDF). The Unicode Standard, Version 9.0. สืบค้นเมื่อ 10 June 2017.
- ↑ Walker & Sarbaugh 1993, pp. 77, 89–90.
บรรณานุกรม
แก้- Bender, Margaret. 2002. Signs of Cherokee Culture: Sequoyah's Syllabary in Eastern Cherokee Life. Chapel Hill: University of North Carolina Press.
- Bender, Margaret. 2008. Indexicality, voice, and context in the distribution of Cherokee scripts. International Journal of the Sociology of Language 192:91–104.
- Cushman, Ellen (2010), "The Cherokee Syllabary from Script to Print" (PDF), Ethnohistory, 57 (4): 625–49, doi:10.1215/00141801-2010-039, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-12-22, สืบค้นเมื่อ 2015-12-13
- Cushman, Ellen (2013), Cherokee Syllabary: Writing the People's Perseverance, University of Oklahoma Press, ISBN 978-0806143736.
- Daniels, Peter T (1996), The World's Writing Systems, New York: Oxford University Press, pp. 587–92.
- Foley, Lawrence (1980), Phonological Variation in Western Cherokee, New York: Garland Publishing.
- Giasson, Patrick (2004). The Typographic Inception of the Cherokee Syllabary (PDF) (วิทยานิพนธ์). The University of Reading. สืบค้นเมื่อ October 1, 2016.
- Kilpatrick, Jack F; Kilpatrick, Anna Gritts (1968), New Echota Letters, Dallas: Southern Methodist University Press.
- McLoughlin, William G. (1986), Cherokee Renascence in the New Republic, Princeton, NJ: Princeton University Press.
- Scancarelli, Janine (2005), "Cherokee", ใน Hardy, Heather K; Scancarelli, Janine (บ.ก.), Native Languages of the Southeastern United States, Bloomington: Nebraska Press, pp. 351–84.
- Tuchscherer, Konrad; Hair, PEH (2002), "Cherokee and West Africa: Examining the Origins of the Vai Script", History in Africa, 29: 427–86, doi:10.2307/3172173, JSTOR 3172173, S2CID 162073602.
- Sturtevant, William C.; Fogelson, Raymond D., บ.ก. (2004), Handbook of North American Indians: Southeast, vol. 14, Washington, DC: Smithsonian Institution, ISBN 0160723000.
- Walker, Willard; Sarbaugh, James (1993), "The Early History of the Cherokee Syllabary", Ethnohistory, 40 (1): 70–94, doi:10.2307/482159, JSTOR 482159, S2CID 156008097.
อ่านเพิ่ม
แก้- Cowen, Agnes (1981), Cherokee Syllabary Primer, Park Hill, OK: Cross-Cultural Education Center, ASIN B00341DPR2.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Cherokee (report), Omniglot.
- "Sequoyah", Cherokee (online conversion tool), Transliteration.
- Learning to Design a Cherokee Syllabary with Mark Jamra - Cooper Union lecture on sociohistorical background behind Sequoyah's invention, and attempts in designing modern Cherokee typefaces