วัฒนา สรรพานิช
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
พลเอก วัฒนา สรรพานิช สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12[1] อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา อดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อดีตแม่ทัพน้อยที่ 1 อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 9 และอดีตผู้บัญชาการกองพลรบพิเศษที่ 1
วัฒนา สรรพานิช | |
---|---|
สมาชิกวุฒิสภา | |
ดำรงตำแหน่ง 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 – 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 | |
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ | |
ดำรงตำแหน่ง 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 24 มีนาคม พ.ศ. 2481 |
พรรคการเมือง | มัชฌิมาธิปไตย (2550-2551) |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | กระทรวงกลาโหม กองทัพไทย กองทัพบกไทย |
ประจำการ | พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2541 |
ยศ | พลเอก |
การศึกษา
แก้- วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์), นิติศาสตรบัณฑิต, ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร
การทำงาน
แก้ราชการทหาร
แก้- ผู้บัญชาการกองพลรบพิเศษที่ 1
- ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 9
- ผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์
- แม่ทัพน้อยที่ 1
- ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
- รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- จเรทหารทั่วไป
ราชการสงคราม
แก้ราชการสงครามในต่างประเทศ 2 ครั้ง
- ณ ประเทศเกาหลี ผลัดที่ 15 (พ.ศ. 2506 - 2507)
- ณ ประเทศเวียดนามใต้ รุ่นที่ 1 (กรมทหารอาสาสมัคร) ได้กระทำการรบด้วยความกล้าหาญ ได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญ, เหรียญบรอนซ์สตาร์ ประดับ วี ของกองทัพสหรัฐ และเหรียญแกลแลนทรี่ครอส ประดับดาวทอง ของกองทัพเวียดนามใต้
ปฏิบัติภารกิจพิเศษ
แก้- ปฏิบัติราชการพิเศษในต่างประเทศ ประเทศลาว, กัมพูชาและ พม่า
ประสบการณ์ที่สำคัญทางการเมือง
แก้- สมาชิกสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2520
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2522
- สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2529 - พ.ศ. 2534[2]
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2535
- สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2539 [3]
- สมาชิกวุฒิสภา จากการเลือกตั้ง จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2549[4]
- ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำกระทรวงมหาดไทย
- สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558[5]
- สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2558 - 2560
- สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
แก้- พ.ศ. 2536 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[6]
- พ.ศ. 2533 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[7]
- พ.ศ. 2541 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 3 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.)[8]
- พ.ศ. 2560 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 3 ตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.)[9]
- พ.ศ. 2512 – เหรียญกล้าหาญ (ร.ก.)[10]
- พ.ศ. 2507 – เหรียญชัยสมรภูมิ การร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี (ช.ส.)[11]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญชัยสมรภูมิ การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม (ช.ส.) (ประดับเปลวระเบิด)[12]
- พ.ศ. 2525 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[13]
- พ.ศ. 2510 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[14]
- พ.ศ. 2514 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[15]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 4 (ภ.ป.ร.4)[16]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญราชรุจิทอง รัชกาลที่ 9 (ร.จ.ท.9)[17]
เครื่องอิสริยาภรณ์สากล
แก้- สหประชาชาติ :
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ - เหรียญสหประชาชาติเกาหลี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้- สหรัฐ :
- พ.ศ. 2495 - เพรสซิเดนเชิล ยูนิท ไซเทเชิน (ทหารบก)
- พ.ศ. 2511 - เหรียญบรอนซ์สตาร์ ประดับ วี[18]
- พ.ศ. 2512 - เมอริโทเรียส ยูนิท คอมมันเดเชิน (ทหารบก)
- เกาหลีใต้ :
- เวียดนามใต้ :
- พ.ศ. 2512 - แกลแลนทรี่ครอส ยูนิท ไซเทเชิน
- พ.ศ. 2511 - แกลแลนทรี่ครอส ประดับดาวทอง[18]
- พ.ศ. 2511 - เหรียญรณรงค์เวียดนาม
อ้างอิง
แก้- ↑ สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12
- ↑ สมาชิกสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
- ↑ "สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-30. สืบค้นเมื่อ 2019-06-27.
- ↑ สมาชิกวุฒิสภา จากการเลือกตั้ง
- ↑ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๒๐๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๒๔๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๘ ข หน้า ๓, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๐ เก็บถาวร 2017-10-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๘ ข หน้า ๓, ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๓๓ ง หน้า ๑๔๙๘, ๑๕ เมษายน ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๑ ตอนที่ ๑๑ ง หน้า ๓๒๓, ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๒, ๖ มกราคม ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๑๔๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๘ ตุลาคม ๒๕๒๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๔ ตอนที่ ๖๗ ง หน้า ๒๐๒๔, ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๑๕๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๙๐๐, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๐๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๔, ๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชรุจิ, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๕๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔, ๒๗ เมษายน ๒๕๓๕
- ↑ 18.0 18.1 https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?ssp_id=20351&lang=th