ราชวงศ์เว่ย์เหนือ

34°16′00″N 108°54′00″E / 34.2667°N 108.9000°E / 34.2667; 108.9000

เว่ย์

386–535
เขตการปกครองของราชวงศ์เว่ย์เหนือและดินแดนอื่น ๆ ป. ค.ศ. 500
ดินแดนของราชวงศ์เว่ย์เหนือ ทางใต้ติดกับราชวงศ์ฉีใต้ใน ค.ศ. 479 ถึง 502 และติดกับเหลียงตั้งแต่ ค.ศ. 502
ดินแดนของราชวงศ์เว่ย์เหนือ ทางใต้ติดกับราชวงศ์ฉีใต้ใน ค.ศ. 479 ถึง 502 และติดกับเหลียงตั้งแต่ ค.ศ. 502
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวงเฉิงเล่อ (386–398, เมืองหลวงของไต้ในอดีต ตั้งอยู่ใกล้ฮูฮอตในปัจจุบัน)
ผิงเฉิง (398–493)
ลั่วหยาง (493–534)
ฉางอัน (534–535)
ภาษาทั่วไปTuoba, ภาษาจีนสมัยกลาง
การปกครองราชาธิปไตย
จักรพรรดิ 
• 386–409
เว่ย์เต้าอู่
• 409–423
เว่ย์หมิงหยวน
• 424–452
เว่ย์ไท่อู่
• 452–465
เว่ย์เหวินเฉิง
• 471–499
เว่ย์เสี้ยวเหวิน
• 499–515
เว่ย์เซฺวียนอู่
• 528–530
เว่ย์เสี้ยวจวง
• 532–535
เว่ย์เสี้ยวอู่
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
20 กุมภาพันธ์[1] 386
• จักรพรรดิเว่ย์เต้าอู่อ้างสิทธิ์ในการครองราชย์
24 มกราคม 399[2]
• รวมเข้ากับจีนตอนเหนือ
439
• ย้ายเมืองหลวงไปยังลั่วหยาง
25 ตุลาคม 493[3]
• การสังหารหมู่ชนชั้นปกครองของเอ่อร์ จูหรง
17 พฤษภาคม 528[4]
• สถาปนาราชวงศ์เว่ย์ตะวันออก เริ่มต้นการแบ่งแยก
8 พฤศจิกายน[5] 535
• จักรพรรดิเว่ย์เสี้ยวอู่สวรรคต
3 กุมภาพันธ์ 535[5]
พื้นที่
450[6]2,000,000 ตารางกิโลเมตร (770,000 ตารางไมล์)
สกุลเงินเหรียญจีน,
เชียน
ก่อนหน้า
ถัดไป
เฉียนฉิน
เยียนตอนปลาย
เซี่ย (สิบหกรัฐ)
เยียนตอนเหนือ
เหลียงตอนเหนือ
ราชวงศ์เว่ย์ตะวันออก
ราชวงศ์เว่ย์ตะวันตก
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีน
ประเทศมองโกเลีย
ราชวงศ์เว่ย์เหนือ
ภาษาจีน北魏
ความหมายตามตัวอักษรเว่ย์เหนือ

เว่ย์เหนือ (จีน: 北魏; พินอิน: Běi Wèi) ยังเป็นที่รู้จักกันคือ ทั่วป๋าเว่ย์ (จีน: 拓跋魏; พินอิน: Tuòbá Wèi), ยุคเว่ย์หลัง (จีน: 後魏; พินอิน: Hòu Wèi) และยฺเหวียนเว่ย์ (จีน: 元魏; พินอิน: Yuán Wèi) เป็นราชวงศ์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยเผ่าทั่วป๋า (拓跋氏; Tabgach clan) ของชาติพันธุ์เซียนเปย์ ซึ่งปกครองแผ่นดินจีนทางตอนเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 386 ถึง 535[7] ในช่วงยุคสมัยยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ ได้รับการกล่าวว่า "เป็นส่วนหนึ่งของยุคความระส่ำระสายทางการเมืองและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างเข้มข้น"[8] ราชวงศ์เว่ย์เหนือเป็นช่วงยุคสมัยโดยเฉพาะสำหรับการรวบรวมแผ่นดินจีนทางตอนเหนือในปี พ.ศ. 982 เป็นช่วงยุคสมัยที่ศาสนาและความเชื่อจากโลกภายนอกได้ถูกนำเข้าไปเผยแพร่ เช่น ศาสนาพุทธ ซึ่งกลายเป็นที่ยอมรับอย่างเหนียวแน่นในเวลาถัดมา

หมายเหตุ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Zizhi Tongjian, vol. 106.
  2. Zizhi Tongjian, vol. 110.
  3. Zizhi Tongjian, vol. 138.
  4. Zizhi Tongjian, vol. 152.
  5. 5.0 5.1 Zizhi Tongjian, vol. 156.
  6. Rein Taagepera "Size and Duration of Empires: Growth-Decline Curves, 600 B.C. to 600 A.D.", Social Science History Vol. 3, 115–138 (1979)
  7. Fairbank, John; Goldman, Merle (2006). China: A New History. p. 73. ISBN 9780674018280.
  8. Katherine R. Tsiang, p. 222

ข้อมูล

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Northern Wei Dynasty