มิก โฟลีย์

(เปลี่ยนทางจาก มิค โฟลีย์)

ไมเคิล แฟรนซิส โฟลีย์ (Michael Francis Foley)[5][1] เกิดวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1965[5][1] นักมวยปล้ำอาชีพที่เกษียณอายุ, นักเขียน, นักวิจารณ์, นักแสดง และนักแสดงเสียง ชาวอเมริกัน อดีตนักมวยปล้ำของWWE ในชื่อที่รู้จักกันอย่างดี มิก โฟลีย์ (Mick Foley) เขายังได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักมวยปล้ำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของสมาคม[2][6]

Mick Foley
เกิดMichael Francis Foley
(1965-06-07) 7 มิถุนายน ค.ศ. 1965 (59 ปี)
Bloomington, Indiana, U.S.
อาชีพ
  • Professional wrestler
  • writer
  • color commentator
  • actor
ปีปฏิบัติงาน1983–2012 (wrestler)
1999–present (author)
1999–present (actor)
คู่สมรสColette Christie (สมรส 1992)
บุตร4
ชื่อบนสังเวียนCactus Jack
Dude Love
Cactus Jack Manson[1]
Jack Foley
Mankind[1]
Mick Foley[1]
ส่วนสูง6 ฟุต 2 นิ้ว (188 เซนติเมตร)[1][2]
น้ำหนัก287 ปอนด์ (130 กิโลกรัม)[2]
มาจากBloomington, Indiana (Jack Foley)
The Boiler Room (Mankind)
Long Island, New York (Mick Foley)[2]
Truth or Consequences, New Mexico (Cactus Jack and Dude Love)
ฝึกหัดโดยDominic DeNucci[1][2]
เปิดตัว1983[3]
รีไทร์2012[4]
เว็บไซต์RealMickFoley.com

ประวัติ

แก้

โฟลีย์ใฝ่ฝันว่าตัวเองจะได้เป็นนักมวยปล้ำ และเขาชื่นชอบ จิมมี "ซูเปอร์ฟลาย" สนูกกา มาก ทั้งท่าทาง ทั้งลีลาต่างๆ ของเขา ถึงขนาดอัดวิดีโอที่เป็นแมตช์ของเขาอย่างเดียวเก็บไว้เป็นหลายม้วน แถมลองทำท่า Diving Headbutt ที่เป็นท่าไม้ตายของสนูกก้า บนเตียงตัวเอง อีกด้วย หลังจากนั้นเขาก็เริ่มทำความฝันของตัวเองให้เป็นจริงโดยไปฝึกทักษะมวยปล้ำที่สมาคมแห่งหนึ่ง และไฝ่ฝันต่อว่าจะได้ไปปล้ำที่สมาคม WWF ซึ่งเขาได้ปล้ำแมตช์เดียวในแจ็คเก็ด ก็แพ้แล้ว จึงลาออกจาก WWF และไปฝึกมวยปล้ำที่ญี่ปุ่น ในนามของ แคคตัส แจ็ค ซึ่งเขาก็ถนัดในการปล้ำแบบ เดท แมตช์ หรือ ฮาร์ดคอร์ ซะด้วย จึงได้รับการผลักดันให้เป็นนักมวยปล้ำเด่นๆ ในสมาคมหนึ่งในญี่ปุ่น จากนั้นก็ได้มาปล้ำที่เยอรมนี โดยเขาขึ้นปล้ำกับ ลีโอ ไวท์ หรือ บิ๊ก แวน เวเดอร์[7] ก็ยังคงปล้ำแบบฮาร์ดคอร์ อยู่ดีและเป็นที่สนใจในสมาคมมวยปล้ำของอเมริกาหลายแห่ง ไม่นานโฟลีย์ ก็กลับมาที่อเมริกา และเซ็นสัญญากับสมาคม WCW

หลังจากนั้น 3 ปี ก็ย้ายไปอยู่ ECW[8] ก่อนที่จะเซ็นสัญญากับ WWF ในปี 1996 ในนามของ แมนไคนด์ และก็มีเรื่องอยู่กับ ดิอันเดอร์เทเกอร์ และมีจุดๆหนึ่งที่ทำให้ WWF และคนดูทุกๆคนนับถือและยอมรับในความเป็นนักมวยปล้ำของเขา ในศึก คิงออฟเดอะริง ปี 1998 แมนไคนด์ ได้เจอกับ ดิอันเดอร์เทเกอร์ ในแมตช์ เฮลอินเอเซล และเขาก็ได้ถูกเหวี่ยงลงมาจากบนสุดของกรงเหล็กลงมากระแทกกับโต๊ะผู้บรรยายพัง จนเจ็บซี่โครงและไหล่ แต่เขาก็ยังไม่ยอม ยังจะเข้าไปสู้ และครั้งที่ 2 ก็โดนท่า โชคสแลม ลงมาบนเวทีข้างล่างอีก แต่ก็ยังใจแข็งสู้ต่อ ซึ่งทำให้ทุกๆคนเลื่อมใสในสปีริตการเป็นนักมวยปล้ำของโฟลีย์ ตั้งแต่นั้นมา[9][10][11][12][13][14] หลังจากนั้นก็พักการปล้ำไปนานและกลับมาในนามของ ดู๊ด เลิฟ ซึ่งเป็นคนที่ชอบแต่งตัวหลายบุคลิก และกลายมาเป็น แคคตัส แจ็ค สุดท้ายก็กลายมาเป็น แมนไคนด์ และจับคู่กับเดอะร็อก ได้คว้าแชมป์แท็กทีม 8 สมัย แชมป์โลกอีก 3 สมัย จากนั้นก็มีเรื่องกับทริปเปิลเอช และก็แพ้ไปในปี 1999 ต่อมาโฟลีย์ ได้ย้ายไปสังกัดอยู่สมาคม TNA[15][16] จนถึงปี 2011 โฟลีย์ได้กลับมา WWE อีกครั้ง ในรอว์ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2011[17]

ในรอว์ 24 กันยายน 2012 โฟลีย์ออกมาเพื่อด่าซีเอ็ม พังก์ โฟลีย์ บอกว่า พังก์บอกว่าจะเปลี่ยนแปลงวงการ แต่แล้วเขาทำอะไรบ้างล่ะ รังแกกรรมการ เชื่อฟังพอล เฮย์แมนหน้ามืดตามัว มันเคยบอกให้ทุกคนยืนหยัดต่อสู้เพื่อตัวเอง แต่เดี๋ยวนี้มันเป็นแค่... พังก์ออกมาขัดจังหวะ โฟลีย์พูดต่อบอกว่าเขาก็เคยเป็นเด็กพอล เฮเมนเหมือนกัน แต่เขาก็เป็นแค่คนโนเนมจนกระทั่งเขาแยกจาก พอล เฮเมน และเริ่มคิดทำอะไรด้วยตัวเอง โฟลีย์บอกว่าเขาสร้างชื่อเสียงมาจากแมตช์ เฮลอินเอเซลแมตช์นั้น และเขาไม่จำเป็นต้องเรียกร้องให้ใครมาให้เกียรติ เพราะเขาได้รับเกียรติจากการปล้ำแมตช์นั้น ถ้าอยากได้รับเกียรติล่ะก็ เข้าไปเจอกับจอห์น ซีนา ในเฮลอินเอเซล (2012) สิ พังก์บอกว่า ก็เขาชนะซีนา มาหลายครั้งแล้วนี่ ขนาดปล้ำในบ้านเกิดมัน มันก็ยังไม่มีปัญญาเอาแชมป์ไปได้ เขาไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ตัวเองอะไรอีก และจะไม่ทำอะไรเพื่อแฟนๆ พวกนี้ด้วยเพราะแฟนๆ หักหลังเขา พังก์บอกโฟลีย์ก็แค่ชอบกระโดดลงมาจากที่สูงๆ เอาตะปูทิ่มตัวเอง เล่นกับลวดหนาม หรืออาจจะทำกระทั่งจุดไฟเผาตัวเองเพื่อเรียกร้องความสนใจจากคนดู โฟลีย์บอก นายจะเป็นแชมป์มากี่วันมันไม่สำคัญหรอก เพราะคนดูจะไม่จดจำเลยเมื่อนายเลิกปล้ำไปแล้ว แต่คนดูจะยกย่องให้คนเป็นตำนานจากเหตุการณ์สุดยอดที่พวกเขาสร้างไว้ต่างหาก และนายก็ได้โอกาสนี้แล้วในเฮลอินเอเซล เพราะซีนา จะหายบาดเจ็บพอดี คิดดูให้ดี

ในรอว์ 29 ตุลาคม 2012 โฟลีย์ออกมาเปิดคลิปฉากจบของแมตช์ชิงแชมป์ WWE ในเฮลอินเอเซล เป็นภาพซีเอ็ม พังก์โดนไรแบ็กจับใส่ Shell Shock บนกรงเหล็กเฮลอินเอเซล ทางด้านพังก์โต้กลับว่าครั้งสุดท้ายที่เราได้เห็นโฟลีย์ ก็คือโฟลีย์นั้นลงไปนอนกับพื้นเพราะโดนฉันเตะโฟลีย์ บอกว่าคืนนี้ไม่ได้ออกมาและบอกว่าเขาได้ให้ตัวเลือกกับพังก์ไป เมื่อเดือนก่อนว่า พังก์จะเลือกที่จะเป็นตำนานหรือเป็นแค่พวกไล่เก็บสถิติไปวันๆ ซึ่งพังก์คงลืมไป พังก์ก็พูดแขวะแฟนๆ ก่อนจะโม้อีกรอบว่าตัวเองเป็นแชมป์มา 344 วันแล้ว พังก์บอกว่าดูเหมือนโฟลีย์จะต้องการบางอย่าง พังก์เสนอแมตช์แทกทีม 5 ต่อ 5 ในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2012) ทีมของพังก์ ปะทะ ทีมของโฟลีย์ และ โฟลีย์ ตอบรับคำท้าของพังก์ ทันใดนั้นเองเพลงเปิดตัวของไรแบ็กก็ดังขึ้น ไรแบ็กขึ้นมาบนเวที ทำให้พังก์กับเฮเมนหนีไป คืนเดียวกันพังก์ออกมาประกาศลูกทีมของพวกเขาคือ เดอะมิซ, โคดี โรดส์, แดเมียน แซนดาว และอัลเบร์โต เดล รีโอ ส่วนโฟลีย์ก็ออกมาประกาศสมาชิกในทีมคือ โคฟี คิงส์ตัน, แดเนียล ไบรอัน, เคน และแรนดี ออร์ตัน พังก์บอกจะกำจัดทุกคนออกไปจากแมตช์ เหลือไว้แต่โฟลีย์ แล้วจะได้สั่งสอนมันอย่างเมามันส์ แต่โฟลีย์บอกว่าเขาไม่ได้เข้าร่วมด้วยหรอก คนที่5 ของทีมเขาคือไรแบ็ก แล้วทุกคนก็ตีกันมั่วไปหมด พังก์รีบหนีกลับไปก่อน ปล่อยให้ลูกทีมโดนอัดอยู่บนเวที[18] ต่อมาได้เปลี่ยนให้ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์เป็นกัปตันทีมแทนพังก์ ในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ ทีมของโฟลีย์ได้แพ้ให้กับทีมของซิกก์เลอร์ ในปี 2013 โฟลีย์ได้รับการบรรจุชื่อเข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี[19] ในเดือนกรกฎาคม 2016 ถึงมีนาคม 2017 โฟลีย์ได้รับตำแหน่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของรอว์จากการแต่งตั้งโดยสเตฟานี แม็กแมน

รายชื่อผลงาน

แก้

Memoirs

Children's fiction

Contemporary fiction

ผลงานแสดง

แก้

ภาพยนตร์

แก้
Year Title Role
1999 Beyond the Mat Himself
2000 Big Money Hustlas Cactus Sac
2007 Anamorph Antique Store Owner
2009 Bloodstained Memoirs Himself
2015 Dixieland Himself
2016 Chokeslam Patrick
2019 The Peanut Butter Falcon Jacob
2020 12 Hour Shift Nicholas
2020 You Cannot Kill David Arquette Himself

โทรทัศน์

แก้
Year Title Role Notes
1999 Total Request Live Mankind 1 episode
Boy Meets World Mankind 1 episode
G vs E Himself 1 episode
The Howard Stern Show Himself 1 episode
The Martin Short Show Himself 1 episode
Late Night with Conan O'Brien Himself 1 episode
1999–2001 The Howard Stern Radio Show Himself 3 episodes
2000 Celebrity Death Match Mankind 1 episode
Now and Again Charlie 1 episode
Saturday Night Live Himself 1 episode
2001 Who Wants To Be A Millionaire? Himself Contestant
The Tonight Show with Jay Leno Himself 1 episode
2001–2002 Robot Wars: Extreme Warriors Himself Host
2003 Jimmy Kimmel Live! Himself Guest co-host, 5 episodes
2006–2007 Avatar: The Last Airbender The Boulder Voice, 2 episodes
2009 Squidbillies Thunderclap 1 episode
2009–2013 The Daily Show Himself 3 episodes
2010 Family Feud Himself 5 episodes
Warren the Ape Himself 1 episode
2012 30 Rock Mankind 1 episode
Celebrity Wife Swap Himself 1 episode
2016–2017 Holy Foley! Himself Main cast, reality series
2019 Dark Side of the Ring Himself / Narrator 1 episode
2020 The Big Show Show Himself 1 episode
2021 Heels Dick Valentine 1 episode

เกมส์

Year Title Role Notes
2007 Avatar: The Last Airbender – The Burning Earth The Boulder Voice

ผลงานแชมป์ความสำเร็จ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "Mick Foley's profile". Online World of Wrestling. สืบค้นเมื่อ 2008-04-14.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Mick Foley". WWE Alumni profile, World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2010-10-01.
  3. Foley, Mick (October 2000). Have A Nice Day!: A Tale of Blood and Sweatsocks (1 ed.). New York, New York: Avon Books. pp. 103–107. ISBN 0061031011.
  4. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-02. สืบค้นเมื่อ 2021-12-14.
  5. 5.0 5.1 "Mick Foley Biography". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-04. สืบค้นเมื่อ 2008-05-20.
  6. Joel Ross and Simon Lilsboy. Interview with Mick Foley (May 3, 2007) (podcast). WrestleCast.
  7. Foley, Have A Nice Day!, pp. 243–244
  8. 8.0 8.1 "ECW World Tag Team Title history with his son alex foley". Wrestling-titles.com.
  9. Mick Foley (1999). Have a Nice Day: A Tale of Blood and Sweatsocks. p. 651. ISBN 978-0-06-039299-4.
  10. Mick Foley (1999). Have a Nice Day: A Tale of Blood and Sweatsocks. p. 653. ISBN 978-0-06-039299-4.
  11. Terry Funk: More Than Just Hardcore - Google Books
  12. Foley, Mick (January 20, 2004). Mick Foley's Greatest Hits & Misses: A Life in Wrestling (DVD). WWE Home Video (See disc 2, minute mark 1:39:44; In Foley's intro to the Mankind vs. The Undertaker match he states: "The cage ripping and giving way was a complete surprise to both of us, and it did a lot of damage.").
  13. During a 2002 sit-down interview on the program, Off the Record with Michael Landsberg, The Undertaker commented on the second notorious big bump/fall of the match stating: "That panel was not supposed to break loose. That panel gave way and the second one [fall] was far worse than the first one"
  14. Terry Funk; Scott E. Williams; Mick Foley (27 August 2006). Terry Funk: More Than Just Hardcore. Sports Publishing LLC. pp. 199–. ISBN 978-1-59670-159-5. สืบค้นเมื่อ 5 March 2013.
  15. Clevett, Jason (2008-09-03). "Mick Foley TNA bound". SLAM! Wrestling. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-18. สืบค้นเมื่อ 2008-09-04.
  16. "Foley Debuts at LI TNA Show, First Photo". NewsDay.com. 2008-09-07. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-06. สืบค้นเมื่อ 2008-10-31.
  17. "Raw: Mick Foley hosts "John Cena, This is Your Life," Part 2: Bull Buchanan". WWE. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-02. สืบค้นเมื่อ 2012-01-03.
  18. "Team Mick Foley to face team Punk at Survivor Series". WWE. สืบค้นเมื่อ October 29, 2012.
  19. 19.0 19.1 "Mick Foley to be inducted into WWE Hall of Fame". WWE. 2013-01-11. สืบค้นเมื่อ 2013-01-11.
  20. "A Most Mizerable Christmas". Barnes & Noble.
  21. Oliver, Greg (April 20, 2011). "Lifetime honoree Foley captivates at CAC Baloney Blowout". Slam Wrestling. สืบค้นเมื่อ September 27, 2020.
  22. "History of Extreme Midsouth Wrestling". Buddy Huggins Productions & Extreme Midsouth Wrestling.
  23. "Mick Foley, Terry Funk headline pro hall of fame class at Gable Museum". The Dan Gable International Wrestling Institute and Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 27, 2010. สืบค้นเมื่อ July 12, 2010.
  24. "IWA World Tag Team Championship history". Wrestling-titles.com.
  25. "Next Official Memphis Wrestling Hall of Fame Induction Ceremony". Official Memphis Wrestling. สืบค้นเมื่อ September 22, 2021.
  26. Royal Duncan & Gary Will (2000). Wrestling Title Histories (4th ed.). Archeus Communications. ISBN 0-9698161-5-4.
  27. Tsakiries, Phil. "NWL – National Wrestling League NWL Heavyweight Title History". Solie. สืบค้นเมื่อ July 5, 2008.
  28. "MCW North American Heavyweight Title history". Wrestling-titles.com.
  29. 29.0 29.1 29.2 "PWI Awards". Pro Wrestling Illustrated. Kappa Publishing Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-21. สืบค้นเมื่อ November 18, 2016.
  30. "Pro Wrestling Illustrated (PWI) 500 for 1999". Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ November 18, 2016.
  31. "Pro Wrestling Illustrated's Top 500 Wrestlers of the PWI Years". Wrestling Information Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 7, 2011. สืบค้นเมื่อ July 4, 2008.
  32. "Mick Foley named inaugural 24/7 Champion of Thailand's SETUP Pro Wrestling". สืบค้นเมื่อ July 23, 2021.
  33. Westcott, Brian. "SCW Tag Team Championship history". Solie. สืบค้นเมื่อ July 4, 2008.
  34. "Solie's Title Histories: TNA - TOTAL NON-STOP ACTION". solie.org. สืบค้นเมื่อ December 10, 2019.
  35. "Solie's Title Histories: TNA - TOTAL NON-STOP ACTION". solie.org. สืบค้นเมื่อ December 10, 2019.
  36. "WCW World Tag Team Championship history". Wrestling-titles.com.
  37. "USWA World Tag Team Championship history". Wrestling-titles.com.
  38. Royal Duncan & Gary Will (2000). "Texas: WCWA Light Heavyweight Title". Wrestling Title Histories. Archeus Communications. p. 397. ISBN 0-9698161-5-4.
  39. "World Class Wrestling Association World Light Heavyweight Title". Wrestling-Titles. สืบค้นเมื่อ December 26, 2019.
  40. Royal Duncan & Gary Will (2006). "(Dallas) Texas: NWA American Tag Team Title [Fritz Von Erich]". Wrestling Title Histories. Archeus Communications. ISBN 978-0-9698161-5-7.
  41. "World Class Wrestling Association Tag Team Title". Wrestling-Titles.com. สืบค้นเมื่อ December 26, 2019.
  42. "Mankind's first WWF Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 15, 2013.
  43. "Mankind's second WWF Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 12, 2013.
  44. "Mankind's third WWF Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 12, 2013.
  45. "Hardcore Championship". WWE. สืบค้นเมื่อ December 10, 2019.
  46. ""Stone Cole" Steve Austin and Dude Love's first World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 15, 2013.
  47. "Cactus Jack and Chainsaw Charlie's first World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 16, 2013.
  48. "Kane and Mankind's first World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 16, 2013.
  49. "Kane and Mankind's second World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 15, 2013.
  50. "Mankidn and The Rock's first World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 10, 2013.
  51. "Mankind and The Rock's second World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 12, 2013.
  52. "Mankind and The Rock's third World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 10, 2013.
  53. "Mankind and Al Snow's first World Tag Team Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 15, 2013.
  54. "WWF RAW is WAR #264 " Events Database " CAGEMATCH - The Internet Wrestling Database". cagematch.net.
  55. Meltzer, Dave (1999). "January 11, 1999 Wrestling Observer Newsletter: Finger Poke of Doom, Awards results, Plus tons more". Wrestling Observer Newsletter.

เชิงอรรถ

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้