มถุรา
มถุรา (อำเภอมถุรา รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ราว 57.6 กิโลเมตร (35.8 ไมล์) ทางเหนือของอัครา, 166 กิโลเมตร (103 ไมล์) ทางตะวันนออกเฉียงใต้ของเดลี, 14.5 กิโลเมตร (9.0 ไมล์) จากวรินทาวัน และ 22 กิโลเมตร (14 ไมล์) จากโควรรธัน ในสมัยโบราณ มถุราเป็นศูนย์กลางการค้าขาย ตั้งอยู่ที่จุดเชื่อมต่อของเส้นทางขบวนคาราวานที่สำคัญ และเป็นราชธานีของจักรวรรดิสุรเสนา ข้อมูลจากสำมะโนปี 2011 ประมาณจำนวนประชากรในมถุราอยู่ที่ 441,894 คน
) เป็นนครและศูนย์กลางการปกครองของมถุรา | |
---|---|
นคร | |
ตามเข็มจากบน วิศรมฆาฏบนริมฝั่งแม่น้ำยมุนา, พิพิธภัณฑ์มถุรา, ภาพเขียนรูปราธา-กฤษณะ, ปริยาลันต์จีมนเทียร, ศรีรังคาจีมนเทียร, ราธารานีมนเทียรในพรรสนะ และ นามโยคสาธนมนเทียร | |
สมญา: กฤษณนครี (นครพระกฤษณะ) | |
พิกัด: 27°29′33″N 77°40′25″E / 27.49250°N 77.67361°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
รัฐ | อุตตรประเทศ |
อำเภอ | มถุรา |
การปกครอง | |
• ประเภท | เทศบาลอำเภอ |
• องค์กร | มถุรา-วรินทาวัน |
• นายกเทศบาล[3] | มุเกศ อารยพันธุ (BJP) |
• ดิสตริกคอลเล็กเตอร์ | นวนีต จหัล (IAS[1]) |
• อธิบดีสถานีตำรวจนคร | เคารวะ โกรเวอร์ (IPS)[2] |
• สมาชิกสภานิติบัญญัติ | ศรีกานต์ ชาร์มา (BJP) |
• สมาชิกรัฐสภา | เหม มาลินี (BJP) |
พื้นที่[4] | |
• ทั้งหมด | 39 ตร.กม. (15 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2011) | |
• ทั้งหมด | 441,894 คน |
• ความหนาแน่น | 11,000 คน/ตร.กม. (29,000 คน/ตร.ไมล์) |
ภาษา | |
• ทางการ | ฮินดี[5] |
• เพิ่มเติม | อูรดู[5] |
• พื้นถิ่น | พรัชภาษา[6] |
เขตเวลา | UTC+5:30 (IST) |
PIN | 281001 |
รหัสโทรศัพท์ | 0565 |
ทะเบียนพาหนะ | UP-85 |
เว็บไซต์ | mathura |
ในคติศาสนาฮินดู มถุราเป็นชนมภูมิ (ที่ประสูติ) ของพระกฤษณะ โดยจุดที่เชื่อว่าเป็นชนมภูมิคือกฤษณชนมสถานมนเทียร[7] ทุก ๆ ปีจึงมีการเฉลิมฉลองชนมาษฏมีอย่างยิ่งใหญ่ในมถุรา นอกจากนี้มถุรายังเป็นหนึ่งในเจ็ดสัปตปุรี หรือนครศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาฮินดู
อ้างอิง
แก้- ↑ "DM PROFILE | District Mathura, Government of Uttar Pradesh | India".
- ↑ "Uttar Pradesh Police | Officials". uppolice.gov.in. สืบค้นเมื่อ 9 January 2020.
- ↑ "Mathura-Vrindavan Mayor Election Result 2017 Live Updates: BJP candidate Mukesh Arya is new Mayor". 1 December 2017.
- ↑ "Mathura City" (PDF). mohua.gov.in. สืบค้นเมื่อ 22 November 2020.
- ↑ 5.0 5.1 "52nd Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India" (PDF). nclm.nic.in. Ministry of Minority Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 May 2017. สืบค้นเมื่อ 7 December 2018.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อLuciaMichelutti1
- ↑ Prasad, Dev (2015). Krishna: A Journey through the Lands & Legends of Krishna. Jaico Publishing House. p. 22. ISBN 978-81-8495-170-7.