ภาษารังปุระ
ภาษารังปุระ อยู่ในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีผู้พูดในบริเวณรัฐเบงกอลตะวันตกตอนบน Goalparaตะวันตกของรัฐอัสสัมในประเทศอินเดีย และภาครังปุระในประเทศบังกลาเทศ[4] ส่วนใหญ่จะพูดได้สองภาษาโดยพูดภาษาเบงกอลหรือภาษาอัสสัมได้ด้วย มีขบวนการสนับสนุนการใช้ภาษานี้ในเบงกอลตะวันตก
ภาษารังปุระ | |
---|---|
রংপুরী, কোচ-ৰাজবংশী, দেশী | |
ประเทศที่มีการพูด | บังกลาเทศ, อินเดีย |
ภูมิภาค | เบงกอลตอนบน, อัสสัมตอนล่าง |
ชาติพันธุ์ | Rajbongshi, เบงกอล, Deshi, Nashya-Sheikh, รังปุรี |
จำนวนผู้พูด | 15 ล้านคน (2007)[1] |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรเบงกอล-อัสสัม,[2] อักษรเทวนาครี |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | อินเดีย
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | rkt |
ชื่อ
แก้ภาษารังปุระ (หรือ รังปุรีภาษา) มีหลายชื่อ ชื่อที่นิยมในบังกลาเทศคือ พะเห/บะเฮ (Bahe)[4] ในขณะที่ชื่อ เทศีภาษา/เดสีภาษา (Deshi bhasha) และ อันชาลิตภาษา (Anchalit bhasha) ก็มีการใช้เช่นกัน แปลตรงตัวว่า ภาษาพื้นถิ่น[5] ส่วนในอินเดียเรียกว่า ราชวังศีภาษา/ราชพังสีภาษา (राजवंशी/राजबोंग्शी भाषा) ซึ่งแปลว่า ภาษาของราชวงศ์ แต่ก็จะซ้ำกับอีกภาษาที่พูดในเนปาล
เทียบภาษาใกล้เคียง
แก้ไทย | Kamarupi | Rarhi | Vangiya | |
---|---|---|---|---|
Kamtapuri | อัสสัม | เบงกอล | สิเลฏี | |
ฉัน/ผมทำ | Muĩ korong | Moe korü̃/korönɡ | Ami kori | Mui/Ami xorí |
ฉัน/ผมกำลังทำ | Muĩ korir dhorichung | Moe kori asü̃/asöng | Ami korchhi | Mui/Ami xoriar/xorram |
ฉัน/ผมทำแล้ว | Muĩ korisong | Moe korisü̃/korisöng | Ami korechhi | Mui/Ami xor(i)si |
ฉัน/ผมทำแล้ว (สมบูรณ์) | Muĩ korilung | Moe korilü̃/korilöng | Ami kôrlam | Mui/Ami xorlam |
ฉัน/ผมทำแล้ว (ไม่สมบูรณ์) | Muĩ korisilung | Moe korisilü̃/korisilong | Ami korechhilam | Mui/Ami xors(i)lam |
ฉัน/ผมกำลังทำ (อดีต) | Muĩ koria asilung | Moe kori asilü̃/asilöng | Ami korchhilam | Mui/Ami xorat aslam |
ฉัน/ผมจะทำ | Muĩ korim | Moe korim | Ami korbo | Mui/Ami xormu |
ฉัน/ผมกำลังจะทำ | Muĩ koria thakim | Moe kori thakim | Ami korte thakbo | Mui/Ami xorat táxmu |
อ้างอิง
แก้- ↑ ภาษารังปุระ ที่ Ethnologue (21st ed., 2018)
- ↑ Toulmin 2009, p. 72f, 89
- ↑ PTI (28 February 2018). "Kamtapuri, Rajbanshi, Rangpuri make it to list of official languages in Bengal". Outlook India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 April 2019. สืบค้นเมื่อ 8 May 2019.
- ↑ 4.0 4.1 "รังปุระ ตั้งชื่อตามภาครังปุระของบังกลาเทศ ซึ่งก็สามารถเปลี่ยนกันได้กับ พะเห/บะเฮ Chaudhuri (1939) นิยมที่จะใช้ชื่อรังปุระแทนราชพังสี เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาความเป็นศูนย์กลางของชนเผ่า" H(Toulmin 2009:7)
- ↑ "Rangpur, the headquarters of a district in Bangladesh. During this first stage of research, data were collected with speakers at several sites outside the town perimeter (cf. Appendix C of Toulmin 2006). Speakers of this area refer to their mother tongue as either 'Bahe,' 'Rangpuri,' 'Deshi bhasha' or its synonym 'Anchalit bhasha' meaning 'the local language'." (Toulmin 2009:17)
บรรณานุกรม
แก้- Toulmin, Mathew W S (2009), From Linguistic to Sociolinguistic Reconstruction: The Kamta Historical Subgroup of Indo-Aryan, Pacific Linguistics
- Wilde, Christopher P. (2008). A Sketch of the Phonology and Grammar of Rājbanshi (วิทยานิพนธ์ Ph.D). University of Helsinki. hdl:10138/19290.