ภาษาคาวาร์-บาตี
(เปลี่ยนทางจาก ภาษาคาร์วา-บาตี)
ภาษาคาวาร์-บาตี หรือ นาร์ซาตี เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่มีผู้พูดในภูมิภาคจิตราลทางตอนเหนือของปากีสถาน และบริเวณชายแดนอัฟกานิสถาน มีผู้พูดภาษานี้ 9,000 คน อยู่ในปากีสถานเพียง 1,500 คน และ 7,500 คนอยู่ในอัฟกานิสถาน ชื่อ คาวาร์-บาตี หมายถึง "คำพูดของชาวคาวาร์"[2]
ภาษาคาวาร์-บาตี | |
---|---|
นาร์ซาตี | |
ประเทศที่มีการพูด | ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน |
ภูมิภาค | จิตราล จังหวัดกุนาร์ |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (9,500 คน อ้างถึง1992)[1] |
ตระกูลภาษา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | gwt |
การซึกษาและการจัดอันดับ
แก้ภาษาคาวาร์-บาตียังไม่ได้รับการศึกษาจากนักภาษาศาสตร์อย่างละเอียด ที่มีศึกษาไว้คือ George Morgenstierne (1926) และ Kendall Decker (1992)
ภาษานี้จัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ในกลุ่มย้อยดาร์ดิก อย่างไรก็ตาม ชื่อดาร์ดิกไม่ใช่ศัพท์ทางภาษาศาสตร์ แต่เป็นศัพท์ทางภูมิศาสตร์[3]
อักขรวิธี
แก้อักษรนี้แทบไม่ค่อยมีการเขียน โดยตัวข้างล่างใช้ในปากีสถาน:[4]
อักษร | ا | ب | پ | ت | ٹ | ث | ج | چ | ح | خ | ڄ | ݮ | څ | ځ | د | ڈ | ذ | ر | ڑ | ز | ژ | ݫ | س |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ทับศัพท์ | ā, Ø | b | p | t | ṭ | s | ǰ | č | h | x | c̣ | j̣ | c | j | d | ḍ | z | r | ṛ | z | ẓ | ž | s |
สัทอักษรสากล | [aː], Ø | [b] | [p] | [t] | [ʈ] | [s] | [d͡ʒ] | [t͡ʃ] | [h] | [x] | [ʈ͡ʂ] | [ɖ͡ʐ] | [t͡s] | [d͡z] | [d] | [ɖ] | [z] | [r~ɾ] | [ɽ] | [z] | [ʐ] | [ʒ] | [s] |
อักษร | ش | ݭ | ص | ض | ط | ظ | ع | غ | ف | ق | ک | گ | ل | ݪ | م | ن | ݨ | ں | ه | ء | و | ی | ے |
ทับศัพท์ | š | ṣ | s | z | t | z | ʔ | ǧ | f | q | k | g | l | ł | m | n | ṇ | ˜ | h | ʔ | w, ū, o | y, ī | e |
สัทอักษรสากล | [ʃ] | [ʂ] | [s] | [z] | [t] | [z] | [ʔ] | [ɣ] | [f] | [q] | [k] | [ɡ] | [l] | [ɬ~l] | [m] | [n] | [ɳ] | [˜] | [h] | [ʔ] | [w], [uː], [oː] | [j], [iː] | [eː] |
อักษร | تھ | پھ | ٹھ | چھ | ڄھ | څھ | کھ | َ | ِ | ُ | |||||||||||||
ทับศัพท์ | th | ph | ṭh | čh | c̣h | ch | kh | a | i | u | |||||||||||||
สัทอักษรสากล | [tʰ] | [pʰ] | [ʈʰ] | [t͡ʃʰ] | [ʈ͡ʂʰ] | [t͡sʰ] | [kʰ] | [a] | [i] | [u] |
อ้างอิง
แก้- ↑ ภาษาคาวาร์-บาตี[ลิงก์เสีย] ที่ Ethnologue (14th ed., 2000).
- ↑ Decker, Kendall D. (1992). Languages of Chitral. Sociolinguistic Survey of Northern Pakistan, volume 5. Islamabad, Pakistan: National Institute of Pakistan Studies, Quaid-i-Azam University. pp. 153–154. ISBN 978-969-8023-15-7.
- ↑ Bashir, Elena (2007). Jain, Danesh; Cardona, George (บ.ก.). The Indo-Aryan languages. p. 905. ISBN 978-0415772945.
'Dardic' is a geographic cover term for those Northwest Indo-Aryan languages which [..] developed new characteristics different from the IA languages of the Indo-Gangetic plain. Although the Dardic and Nuristani (previously 'Kafiri') languages were formerly grouped together, Morgenstierne (1965) has established that the Dardic languages are Indo-Aryan, and that the Nuristani languages constitute a separate subgroup of Indo-Iranian.
- ↑ http://fli-online.org/site/wp-content/uploads/2016/04/Gawarbati-Alif-Be11-Feburary-2016.pdf [bare URL PDF]
อ่านเพิ่ม
แก้- Decker, Kendall D. (1992) Languages of Chitral Islamabad, Pakistan: National Institute of Pakistan Studies, Quaid-i-Azam University, ISBN 969-8023-15-1 http://www.ethnologue.com/show_work.asp?id=32850
- Morgenstierne, Georg (1926) Report on a Linguistic Mission to Afghanistan Instituttet for Sammenlignende Kulturforskning, Serie C I-2. Oslo. ISBN 0-923891-09-9