พริกแกง เป็นส่วนผสมของส่วนประกอบต่าง ๆ ในลักษณะเป็น เครื่องแกง ที่ใช้ในการเตรียม แกง มีพริกแกงหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับภูมิภาคและในอาหารประเภทเดียวกัน

พริกแกงอินเดียในซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศสหราชอาณาจักร
พริกแกงไทย แดง, เขียว, และ เหลือง

พริกแกงเชื่อว่าถูกนำเข้าสู่อาหารเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเส้นทางการค้ากับอินเดียตอนใต้ ผ่านครัวของราชสำนักที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พริกแกงถูกปรับให้เข้ากับรสนิยมท้องถิ่น รวมถึงเครื่องเทศและสมุนไพรที่มีอยู่ ในอาหารพม่ามีการเติม ขมิ้น, กระเทียม, ขิง, และ หอมใหญ่ ลงในส่วนผสมของพริกแกง รวมทั้งชวาการเตรียมพริกแกงก็ได้รับมาจากอินเดีย เข้าสู่อาหารราชสำนักของเขมร จากนั้นเข้าสู่ครัวราชสำนักกรุงศรีอยุธยา ที่ซึ่ง ขมิ้น ถูกแทนที่ด้วย กระวาน และ มะขาม ในอาหารกัมพูชาและไทยมีการเติม ตะไคร้ และ ข่า ลงในส่วนผสม ในอาหารมาเลเซีย ใช้ ใบมะกรูด มากขึ้น ในขณะที่อาหารเวียดนาม เติม โป๊ยกั๊ก มากขึ้น อาหารมาเลเซียและอินโดนีเซีย ใช้ อบเชย (หรืออบเชยจีน), กานพลู และ จันทน์เทศ เป็นต้น[1]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Van Esterik, Penny (2008). Food Culture of Southeast Asia. Greenwood Press. p. 45. ISBN 978-0-313-34419-0. The technique may have come from southern India, by way of the royal courts of Indianized Southeast Asia. The recipes reflect taste preferences, locally available spices and herbs, and trade routes. Burma has the most direct Indian borrowings, adding turmeric to the mixture of chiles, garlic, ginger, and onions. Another version traveled from India, by way of Java, into the Khmer courts, and from there into the royal kitchens of Ayuttaya, Thailand, adding cardamom and tamarind to replace the turmeric. Cambodia and Thailand add lemongrass and galangal to the mixture; Malaysia makes more use of wild lime leaves; Vietnam adds more star anise. Malaysian and Indonesian dishes make greater use of the spices that first drew the Europeans to the area—cinnamon (or cassia), cloves, and nutmeg.