ตั๊กแตน
อยากเป็นเพื่อนกับตั๊กแตน ตำข้าว กล้วยไม้สีชมพู
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ตั๊กแตน ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Changhsingian–ปัจจุบัน | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Arthropoda |
ไฟลัมย่อย: | Hexapoda |
ชั้น: | Insecta |
อันดับ: | Orthoptera |
อันดับย่อย: | Caelifera Ander, 1939 |
วงศ์ | |
วงศ์ใหญ่: Tridactyloidea วงศ์ใหญ่: Tetrigoidea วงศ์ใหญ่: Eumastacoidea
วงศ์ใหญ่: Pneumoroidea วงศ์ใหญ่: Pyrgomorphoidea วงศ์ใหญ่: Acridoidea
วงศ์ใหญ่: Tanaoceroidea วงศ์ใหญ่: Trigonopterygoidea |
ตั๊กแตน (อังกฤษ: Grasshopper) จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรพอดหรืออาโทรโฟดา( Arthropoda )
- ตั๊กแตนมีหนวดที่ค่อนข้างสั้น เกือบส่วนใหญ่หนวดของตั๊กแตนจะสั้นกว่าขนาดตัว และมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่สั้น
- ตั๊กแตนสายพันธุ์ที่ส่งเสียงได้ง่าย เกิดจากการถูขาที่ซ่อนอยู่กับปีกหรือท้อง หรือการกระพือปีก
อวัยวะรับเสียง (tympana) จะอยู่ที่ส่วนท้องท่อนแรก
- ขาที่ซ่อนอยู่ของตั๊กแตนจะยาว และแข็งแรงเป็นพิเศษ เหมาะแก่การกระโดด จริงอยู่ที่ว่ามันมีปีก แต่ว่าปีกก็ซ่อนอยู่ และก็เป็นเพียงเนื้อเยื่อที่ไม่เหมาะที่จะใช้บิน
- ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่ว่าตัวผู้ และมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่สั้นกว่าตัวผู้
- มักจะมีสับสนได้ง่ายระหว่างตั๊กแตนกับจิ้งหรีด ซึ่งจิ้งหรีดจะจัดอยู่ในอันดับย่อย Orthoptera แต่จะมีที่แตกต่างกันหลายอย่าง เช่น จำนวนท่อนของหนวด โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์ รวมไปถึงตำแหน่งของอวับวะรับเสียง และวิธีการส่งเสียง
- อันดับย่อย Ensiferans ของจิ้งหรีด จะมีหนวดอย่างน้อย 30 ท่อน แต่ตระกูลตั๊กแตนจะมีน้อยกว่า
ตั๊กแตนนั้นถือเป็นแหล่งโปรตีนชนิดใหม่ของมนุษย์สามารถนำมาแปรรูปทำเป็นอาหาร และให้สารอาหารเทียบเท่ากับ เนื้อสัตว์ที่มนุษย์รับประทานอยู่ในทุกวันนี้โดยตั๊กแตนปาทังก้าทอด 100 กรัม ให้พลังงาน 476 กิโลแคลอรี มีโปรตีนสูงถึง 39.8 กรัม ไขมัน 31.4 กรัม [1][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้]
อ้างอิง
แก้- ↑ "Edible insect / แมลงที่กินได้ - Food Wiki | Food Network Solution". www.foodnetworksolution.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-26. สืบค้นเมื่อ 2021-02-21.