ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน

ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน (อังกฤษ: Hmong–Mien languages) หรือ ตระกูลภาษาแม้ว-เย้า (Miao–Yao languages) เป็นตระกูลภาษาเล็ก ๆ ที่ใช้กันทางตอนใต้ของประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้พูดกันในแถบภูเขาสูงตอนใต้ของจีน เช่นในมณฑลกุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน เสฉวน กว่างซี และหูเป่ย์ ที่เรียกกันว่าชาวเขา ในขณะที่ชาวจีนฮั่นตั้งถิ่นฐานอยู่ตามลุ่มแม่น้ำ เมื่อ 300–400 ปีที่ผ่านมา ชาวม้งและเมี่ยนจำนวนมากได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ลาว เวียดนาม และพม่า และเนื่องจากสงครามอินโดจีน ชาวม้งบางส่วนได้ลี้ภัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐ และอีกหลายประเทศ

ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน
แม้ว-เย้า
ภูมิภาค:จีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
หนึ่งในตระกูลภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดในโลก
ภาษาดั้งเดิม:ม้ง-เมี่ยนดั้งเดิม
กลุ่มย่อย:
ISO 639-5:hmx
กลอตโตลอก:hmon1336[1]
{{{mapalt}}}
บริเวณสีแดงคือบริเวณที่พูดภาษากลุ่มม้ง บริเวณสีเขียวคือบริเวณที่พูดภาษากลุ่มเมี่ยน

อ้างอิง

แก้
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Hmong–Mien". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.