ประเทศกรีเนดา
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กรีเนดา[7] (อังกฤษ: Grenada) เป็นประเทศที่เป็นเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
กรีเนดา Gwinàd (ฝรั่งเศสครีโอลเกรนาดา) | |
---|---|
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | เซนต์จอร์เจส 12°03′N 61°45′W / 12.050°N 61.750°W |
ภาษาราชการ | |
กลุ่มชาติพันธุ์ (ประมาณ ค.ศ. 2011[2]) | |
ศาสนา (ประมาณ ค.ศ. 2011)[2] |
|
เดมะนิม | ชาวเกรนาดา[3] |
การปกครอง | รัฐเดี่ยว สองพรรค รัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ |
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 | |
Cécile La Grenade | |
ดิกคอน มิตเชลล์ | |
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภา |
• สภาสูง | วุฒิสภา |
• สภาล่าง | สภาผู้แทนราษฎร |
ก่อตั้ง | |
3 มีนาคม ค.ศ. 1967 | |
• เป็นเอกราชจากสหราชอาณาจักร | 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974 |
13 มีนาคม ค.ศ. 1979 | |
• ฟื้นฟูรัฐธรรมนูญ | 4 ธันวาคม ค.ศ. 1984 |
พื้นที่ | |
• รวม | 348.5 ตารางกิโลเมตร (134.6 ตารางไมล์) (อันดับที่ 184) |
1.6 | |
ประชากร | |
• พ.ศ. 2560 ประมาณ | 107,317[4] (อันดับที่ 194) |
318.58 ต่อตารางกิโลเมตร (825.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 45) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2019 (ประมาณ) |
• รวม | 1.801 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[5] |
• ต่อหัว | 16,604 ดอลลาร์สหรัฐ[5] |
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2019 (ประมาณ) |
• รวม | 1.249 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[5] |
• ต่อหัว | 11,518 ดอลลาร์สหรัฐ[5] |
เอชดีไอ (2019) | 0.779[6] สูง · อันดับที่ 74 |
สกุลเงิน | ดอลลาร์แคริบเบียนตะวันออก (XCD) |
เขตเวลา | UTC−4 (เวลามาตรฐานแอตแลนติก) |
ขับรถด้าน | ซ้าย |
รหัสโทรศัพท์ | +1-473 |
โดเมนบนสุด | .gd |
ภูมิศาสตร์
แก้ประวัติศาสตร์
แก้อาณานิคมฝรั่งเศส
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในอดีตกรีเนดาเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมืองอินเดียเผ่าแคริบ (Carib) และอาราวัก (Arawaks) ต่อมาในปี ค.ศ. 1498 โคลัมบัสได้ค้นพบดินแดนแห่งนี้ โดยในระยะแรกถูกเรียกว่า กอนเซปซีออน (Concepción) จนในประมาณศตวรรษที่ 18 จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นกรีเนดา (Grenada) อย่างไรก็ดี แม้ว่ากรีเนดา จะถูกค้นพบโดยโคลัมบัส แต่ก็มิได้เป็นอาณานิคมของสเปนนานนัก โดยใน ค.ศ. 1650 ตกไปอยู่ใต้การปกครองของฝรั่งเศส ต่อมาเมื่อเกิดการปฏิวัติโค่นล้มรัฐบาลในปี ในปี ค.ศ. 1763
อาณานิคมสหราชอาณาจักร
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สหราชอาณาจักรก็ได้เข้าปกครองกรีเนดา ภายหลังจากที่มีชัยชนะต่อฝรั่งเศสในสงครามเจ็ดปี กรีเนดามีฐานะเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรจนถึง ค.ศ. 1974 เมื่อได้รับเอกราชในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ของปีนั้น
การเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราช
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การเมืองก่อนการรัฐประหาร ค.ศ. 1983
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สหรัฐอเมริกาเข้าแทรงแซงทางการเมือง
แก้ค.ศ. 1983 กองทัพสหรัฐอเมริกาได้เข้าแทรกแซงประเทศในแถบแคริบเบียนเพื่อสร้างเสภียรภาพทางการเมืองในกรีเนดา
ก่ารก่อรัฐประหาร และ ประหารชีวิตมอเรียส บิชอฟส์
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ปฏิบัติการทางทหารโดยสหรัฐ และ พันธมิตร
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองทัพเรือ
แก้การเมืองการปกครอง
แก้รูปแบบการปกครองของกรีเนดาเป็นแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รัฐธรรมนูญปัจจุบัน 19 ธันวาคม 2514 ประมุขของประเทศ สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านทางผู้สำเร็จราชการ (Governer-General) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรีกรีเนดา
บริหาร
แก้หัวหน้าฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือ นาย Keith Mitchell (เข้าดำรงตำแหน่งเมื่อ 22 มิถุนายน 2538 ฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรีได้รับการเลือกตั้งจากเสียงส่วนใหญ่ของสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วจะได้แก่หัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมาก โดยจะได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จราชการ และนายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้สรรหาและจัดตั้งคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเป็น 6 เขต ได้แก่ Saint Andrew, Saint David, Saint George, Saint John, Saint Mark, Saint Patrick และอีก 1 เขตปกครองตนเอง คือ Carriacou and Petit Martinique
นิติบัญญัติ
แก้ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสมาชิกมีจำนวนทั้งสิ้น 13 คน โดย 10 คนมาจากการเสนอชื่อของพรรครัฐบาลและ และอีก 3 คนมาจากการเสนอชื่อของหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนทั้งสิ้น 15 คน มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี
พรรคการเมือง
แก้- พรรค New National Party (NNP) เป็นพรรครัฐบาล โดยในปัจจุบันครองที่นั่งทั้งหมด (15 ที่นั่ง) ในสภาผู้แทนราษฎร - พรรค National Democratic Congress (NDC) - พรรค Grenada United Labor Party (GULP) - พรรค The National Party (TNP) - พรรค Maurice Bishop Patriotic Movement (MBPM) - พรรค Unity Labor Party (ULP)
ตุลาการ
แก้ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายตุลาการประกอบด้วย ศาลแพ่ง ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา อำนาจในการพิจารณาไต่สวน อยู่ภายใต้อำนาจของศาลสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก ("en:Eastern Caribbean Supreme Court") มีศาลฎีกาอยู่ในตำแหน่งสูงสุด การยื่นอุทธรณ์นั้นผ่านการพิจารณาจากศาลอุทธรณ์ ส่วนการยื่นฎีกาจะยื่นให้คณะกรรมการฝ่ายตุลาการแห่งองคมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร (Privy Council) เป็นผู้พิจารณา
สิทธิมนุษยชน
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
นโยบายต่างประเทศ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองทัพ
แก้การแบ่งเขตการปกครอง
แก้กรีเนดาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (parishes) ได้แก่
- เขตเซนต์แอนดรูว์ (Saint Andrew)
- เขตเซนต์เดวิด (Saint David)
- เขตเซนต์จอร์จ (Saint George)
- เขตเซนต์จอห์น (Saint John)
- เขตเซนต์มาร์ก (Saint Mark)
- เขตเซนต์แพทริก (Saint Patrick)
ส่วน กาเรียกูและเปอตีมาร์ตินีก (Carriacou and Petit Martinique) เกาะ 2 เกาะในหมู่เกาะเกรนาดีนส์มีฐานะเป็นเมืองขึ้น (dependency)
เศรษฐกิจ
แก้โครงสร้าง
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การท่องเที่ยว
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้างพื้นฐาน
แก้คมนาคม และ โทรคมนาคม
แก้คมนาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โทรคมนาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การศึกษา
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สาธารณสุข
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สวัสดิการสังคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ประชากรศาสตร์
แก้เชื้อชาติ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศาสนา
แก้ภาษา
แก้กีฬา
แก้วัฒนธรรม
แก้สถาปัตยกรรม
แก้ดนตรี
แก้อาหาร
แก้สื่อสารมวลชน
แก้วันหยุด
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Government of Grenada Website". สืบค้นเมื่อ 1 November 2007.
- ↑ 2.0 2.1 "Grenada - The World Factbook". The World Factbook. Central Intelligence Agency (CIA). สืบค้นเมื่อ 15 January 2021.
- ↑ "About Grenada, Carriacou & Petite Martinique | GOV.gd". www.gov.gd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2009. สืบค้นเมื่อ 31 July 2017.
- ↑ "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 "Grenada". International Monetary Fund. 2018. สืบค้นเมื่อ 1 April 2018.
- ↑ Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
- ↑ "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
บรรณานุกรม
แก้- Adkin, Mark. 1989. Urgent Fury: The Battle for Grenada: The Truth Behind the Largest US Military Operation Since Vietnam. Trans-Atlantic Publications. ISBN 0-85052-023-1
- Beck, Robert J. 1993. The Grenada Invasion: Politics, Law, and Foreign Policy Decisionmaking. Boulder: Westview Press. ISBN 0-8133-8709-4
- Brizan, George 1984. Grenada Island of Conflict: From Amerindians to People's Revolution 1498–1979. London, Zed Books Ltd., publisher; Copyright, George Brizan, 1984.
- Martin, John Angus. 2007. A–Z of Grenada Heritage. Macmillan Caribbean.
- "Grenada Heritage". Grenadaheritage.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2011. สืบค้นเมื่อ 28 June 2010.
- Sinclair, Norma. 2003. Grenada: Isle of Spice (Caribbean Guides). Interlink Publishing Group; 3rd edition. ISBN 0-333-96806-9
- Stark, James H. 1897. Stark's Guide-Book and History of Trinidad including Tobago, Grenada, and St. Vincent; also a trip up the Orinoco and a description of the great Venezuelan Pitch Lake. Boston, James H. Stark, publisher; London, Sampson Low, Marston & Company.
- Steele, Beverley A. (2003). Grenada: A History of Its People (Island Histories). Oxford: MacMillan Caribbean. ISBN 978-0-333-93053-3.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Wikimedia Atlas of Grenada
- Official Website of the Government of Grenada
- Chief of State and Cabinet Members
- Grenada. The World Factbook. Central Intelligence Agency.
- Grenada at UCB Libraries GovPubs.
- ประเทศกรีเนดา ที่เว็บไซต์ Curlie
- Grenada from the BBC News.
- Presentation Brothers College
- Key Development Forecasts for Grenada from International Futures.
- The Grenada Newsletter, 1974–1994 in the Digital Library of the Caribbean
- The dream of a Black utopia, podcast from The Washington Post. Includes interview with Dessima Williams, Grenada’s former ambassador to the U.S.