ชุดตัวอักษรกรีก

(เปลี่ยนทางจาก Greek alphabet)

ชุดตัวอักษรกรีก เป็นชุดของอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก

ชุดตัวอักษรกรีก
ชนิด
อักษรสระ-พยัญชนะ
ช่วงยุค
ประมาณ 800 ปีก่อนคริสตกาล – ปัจจุบัน[1][2]
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดกรีก
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
ISO 15924
ISO 15924Grek (200), ​Greek
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Greek
ช่วงยูนิโคด
รายชื่ออักษรกรีก
อักษรกรีก
Αα แอลฟา Νν นิว
Ββ บีตา Ξξ ไซ
Γγ แกมมา Οο โอไมครอน
Δδ เดลตา Ππ พาย
Εε เอปไซลอน Ρρ โร
Ζζ ซีตา Σσς ซิกมา
Ηη อีตา Ττ เทา
Θθ ทีตา Υυ อิปไซลอน
Ι ι ℩ ไอโอตา Φφ ฟาย
Κκ แคปปา Χχ ไค
Λλ แลมดา Ψψ พไซ
Μμ มิว Ωω โอเมกา
ใกล้คลาสสิก
Ϝϝ เวา ϘϙϞϟ คอปปา
Ϻϻ แซน ͲͲϠϡ แซมไพ
Ϛϛ สติกมา Ͱͱ ฮีตา
Ϸϸ โช

เครื่องหมายเสริมอักษร

ประวัติ

แก้

อักษรกรีกนั้นปรับปรุงแก้ไขจากอักษรฟินิเชีย และยังได้เป็นจุดกำเนิดพัฒนาการของอักษรอื่น ๆ อีกหลายแบบ เช่น อักษรละติน (อักษรโรมัน) อักษรกลาโกลิติก อักษรคอปติก และอักษรซีริลลิก เป็นต้น อาจรวมถึงอักษรอาร์มีเนียด้วย

จากข้อเขียนของเฮโรโดตัสระบุว่าตัวอักษรเข้าสู่กรีซครั้งแรกโดยชาวฟินิเชียชื่อแคดมัส การเปลี่ยนแปลงของอักษรกรีกเมื่อเทียบกับอักษรฟินิเชีย คือการเพิ่มสัญลักษณ์แทนเสียงสระ ซึ่งได้แก่ อัลฟา เอฟซีลอน ไอโอตา โอไมครอน และอัฟซีลอน และเพิ่มพยัญชนะบางตัวเข้าไป ในช่วงแรกอักษรกรีกมีความหลากหลายมาก มีความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างกรีซตะวันตกหรือคัลเดียกับกรีซตะวันออกหรือไอโอนิก รัฐเอเธนส์กำหนดระบบการเขียนแบบไอโอนิกให้เป็นมาตรฐานเมื่อ พ.ศ. 140 ปัจจุบันอักษรกรีกเขียนจากซ้ายไปขวา แต่ในอดีตเคยเขียนจากขวาไปซ้าย

ใช้เขียน

แก้

รายชื่ออักษรกรีกและพัฒนาการ

แก้

ตัวอักษรที่ยังใช้อยู่

แก้
อักษร อักษรฟินิเชีย
ที่สอดคล้อง
ชื่อ ถอดรูปอักษรละติน เสียงอ่าน ค่าจำนวน
อังกฤษ ไทย กรีก
โบราณ
กรีก
ยุคกลาง
กรีก
สมัยใหม่
กรีก
โบราณ
กรีก
สมัยใหม่
กรีก
โบราณ
คลาสสิก
กรีก
สมัยใหม่
Α α   Aleph Alpha แอลฟา, อัลฟา ἄλφα άλφα a [a] [aː] [a] 1
Β β   Beth Beta บีตา, เบตา βῆτα βήτα b v [b] [v] 2
Γ γ   Gimel Gamma แกมมา γάμμα γάμμα
γάμα
g gh, g, j [ɡ] [ɣ], [ʝ] 3
Δ δ   Daleth Delta เดลตา δέλτα δέλτα d d, dh, th [d] [ð] 4
Ε ε   He Epsilon เอปไซลอน, เอปซิลอน ε ψιλόν έψιλον e [e] 5
Ζ ζ   Zayin Zeta ซีตา, เซตา ζῆτα ζήτα z [zd, dz, zː] (?) [z] 7
Η η   Heth Eta อีตา, เอตา ἦτα ήτα e, ē i [ɛː] [i] 8
Θ θ   Teth Theta ทีตา, ธีตา, เธตา θῆτα θήτα th [tʰ] [θ] 9
Ι ι ℩   Yodh Iota ไอโอตา ἰῶτα ιώτα
γιώτα
i [i] [iː] [i], [ʝ] 10
Κ κ   Kaph Kappa แคปปา κάππα κάππα
κάπα
k [k] [k], [c] 20
Λ λ   Lamedh Lamda, Lambda แลมดา, แลมบ์ดา λάβδα λάμβδα λάμδα
λάμβδα
l [l] 30
Μ μ   Mem Mu มิว μῦ μι
μυ
m [m] 40
Ν ν   Nun Nu นิว νῦ νι
νυ
n [n] 50
Ξ ξ   Samekh Xi ไซ, คไซ, ซี ξεῖ ξῖ ξι x x, ks [ks] 60
Ο ο   'Ayin Omicron โอไมครอน, โอมิครอน οὖ ὂ μικρόν όμικρον o [o] 70
Π π   Pe Pi พาย, ไพ πεῖ πῖ πι p [p] 80
Ρ ρ   Resh Rho โร ῥῶ ρω r
(ถ้าเป็น ใช้ rh)
r [r], [r̥] [r] 100
Σ σ ς   Sin Sigma ซิกมา σῖγμα σίγμα s [s] 200
Τ τ   Taw Tau เทา, ทาว ταῦ ταυ t [t] 300
Υ υ   Waw Upsilon อิปไซลอน, อุปซิลอน ὖ ψιλόν ύψιλον u, y y, v, f [ʉ(ː)], [y(ː)] [i] 400
Φ φ ยังสรุปไม่ได้ Phi ฟาย, ไฟ, ฟี φεῖ φῖ φι ph f [pʰ] [f] 500
Χ χ Chi ไค χεῖ χῖ χι ch ch, kh [kʰ] [x], [ç] 600
Ψ ψ Psi พไซ, ซี ψεῖ ψῖ ψι ps [ps] 700
Ω ω   'Ayin Omega โอเมกา ὦ μέγα ωμέγα o, ō o [ɔː] [o] 800

ตัวอักษรที่เลิกใช้แล้ว

แก้
อักษร อักษรฟินิเชีย
ที่สอดคล้อง
ชื่อ ถอดรูป
อักษรละติน
เสียงอ่าน ค่าจำนวน
อังกฤษ ไทย กรีก
ยุคกลาง
Ϝ ϝ
Ͷ ͷ (รูปอื่น)
  Waw Wau, Fau, Digamma เวา, วาว, ไดแกมมา δίγαμμα w [w] 6
Ϻ ϻ ยังสรุปไม่ได้ อาจเป็น
  Tsade (ตำแหน่ง)
  Sin (ชื่อ)
San แซน σάν s [s]
Ϙ ϙ
Ϟ ϟ (รูปอื่น)
  Qoph Koppa, Qoppa คอปปา κόππα q [k] ก่อน /u/, /o/ 90
Ͳ ͳ
Ϡ ϡ (รูปอื่น)
ยังสรุปไม่ได้ อาจเป็น
  Tsade
Sampi, Disigma แซมไพ, ไดซิกมา σαμπῖ ss อาจเป็นเสียงผสมเสียดแทรก
แต่ยังไม่ทราบแน่ชัด
มีการเสนอว่าเป็น [sː], [ks], [ts]
900
อักษร อักษรฟินิเชีย
ที่สอดคล้อง
ชื่อ ถอดรูป
อักษรละติน
เสียงอ่าน ค่าจำนวน
อังกฤษ ไทย กรีก
โบราณ
กรีก
ยุคกลาง
Ϛ ϛ (ไม่มี) Stigma สติกมา στίγμα st [st] 6
Ͱ ͱ   Heth Heta ฮีตา ἧτα h [h]
Ϸ ϸ ยังสรุปไม่ได้ อาจเป็น
  Tsade (ตำแหน่ง)
  Sin (ชื่อ)
Sho โช š อาจเป็นเสียงเสียดแทรก
แต่ยังไม่ทราบแน่ชัด
มีการเสนอว่าเป็น [ʃː]

ยูนิโคด

แก้
กรีกและคอปติก
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+037x Ͱ ͱ Ͳ ͳ ʹ ͵ Ͷ ͷ     ͺ ͻ ͼ ͽ ;  
U+038x         ΄ ΅ Ά · Έ Ή Ί   Ό   Ύ Ώ
U+039x ΐ Α Β Γ Δ Ε Ζ Η Θ Ι Κ Λ Μ Ν Ξ Ο
U+03Ax Π Ρ   Σ Τ Υ Φ Χ Ψ Ω Ϊ Ϋ ά έ ή ί
U+03Bx ΰ α β γ δ ε ζ η θ ι κ λ μ ν ξ ο
U+03Cx π ρ ς σ τ υ φ χ ψ ω ϊ ϋ ό ύ ώ Ϗ
U+03Dx ϐ ϑ ϒ ϓ ϔ ϕ ϖ ϗ Ϙ ϙ Ϛ ϛ Ϝ ϝ Ϟ ϟ
U+03Ex Ϡ ϡ Ϣ ϣ Ϥ ϥ Ϧ ϧ Ϩ ϩ Ϫ ϫ Ϭ ϭ Ϯ ϯ
U+03Fx ϰ ϱ ϲ ϳ ϴ ϵ ϶ Ϸ ϸ Ϲ Ϻ ϻ ϼ Ͻ Ͼ Ͽ


คอปติก
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+2C8x
U+2C9x
U+2CAx
U+2CBx ⲿ
U+2CCx
U+2CDx
U+2CEx
U+2CFx           ⳿


กรีก ส่วนขยาย
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1F0x
U+1F1x        
U+1F2x
U+1F3x Ἷ
U+1F4x        
U+1F5x        
U+1F6x
U+1F7x    
U+1F8x
U+1F9x
U+1FAx
U+1FBx   ᾿
U+1FCx  
U+1FDx      
U+1FEx
U+1FFx        


อ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  1. Swiggers 1996.
  2. Johnston 2003, pp. 263–276.