ประตูสู่อินเดีย
(เปลี่ยนทางจาก Gateway of India)
ประตูสู่อินเดีย (อังกฤษ: Gateway of India) เป็นอนุสาวรีย์ซุ้มประตูโค้งแบบประตูชัย ที่ตั้งอยู่ในนครมุมไบ ประเทศอินเดีย[2] ประตูสู่อินเดียสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองการเสด็จฯ เยือนนครมุมไบของพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ พระนางมาเรียแห่งเท็ค เมื่อปี 1911 ณ บริเวณอะพอลโลบันเดอร์
ประตูสู่อินเดีย | |
พิกัด | 18°55′19″N 72°50′05″E / 18.9219°N 72.8346°E |
---|---|
ที่ตั้ง | ทางใต้ของมุมไบ, รัฐมหาราษฏระ |
ผู้ออกแบบ | จอร์จ วิทเท็ท |
ประเภท | ประตูชัย |
วัสดุ | หินบะซอลต์ |
ความสูง | 26 m (85 ft) |
เริ่มก่อสร้าง | 31 March 1911 |
สร้างเสร็จ | 1924 |
การเปิด | 4 ธันวาคม 1924 |
อุทิศแด่ | การเสด็จเยือนอินเดียของพระเจ้าจอร์จที่ 5 และพระนางมาเรียแห่งเท็ค |
สถาปัตยกรรมที่ใช้คือแบบอินเดีย-ซาราเซน (Indo-Saracenic) และอนุสาวรีย์สร้างด้วยหินบะซอลต์ ความสูง 26 เมตร (85 ฟุต) ใช้เวลาสร้างสำเร็จในปี 1924 ปัจจุบันใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับพิธีต้อนรับรัฐมนตรีใหม่ของนครมุมไบ[3] และเช่นกัน เป็นทางเข้าประเทศอินเดียหากเดินทางมาทางมหาสมุทรอินเดีย[4]
ประตูสู่อินเดียตั้งอยู่หน้าน้ำที่อะพอลโลบันเดอร์ ในทางทิศใต้ของนครมุมไบ มองออกไปคือทะเลอาหรับ[5][6][7] บางครั้งเรียกว่าเป็นทัชมาฮาลแห่งมุมไบ[8] ปัจจุบันเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของเมือง[9]
อ้างอิง
แก้- ↑ "Which company built the Gateway of India?". Rediff.com. 4 พฤษภาคม 2007. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 มีนาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2012.
- ↑ National Portal Content Management Team. "National Portal of India, Monuments". National Informatics Centre (NIC). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 เมษายน 2012. สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2012.
- ↑ Chapman, Kenneth. Peace, War and Friendships. Roxana Chapman. p. 151. ISBN 978-0-9551881-0-7. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มกราคม 2014. สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2012.
- ↑ Simon, Sherry; St-Pierre, Paul (27 พฤศจิกายน 2000). Changing the Terms: Translating in the Postcolonial Era. University of Ottawa Press. p. 245. ISBN 978-0-7766-0524-1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มกราคม 2014. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2012.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อDuikerSpielvogel2006
- ↑ DNA (24 เมษายน 2012). "Walk amid a wealth of heritage in Mumbai". DNA India. Mumbai. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2012.
- ↑ Holloway, James (29 พฤศจิกายน 1964). "Gateway of India; Colorful, Crowded Bombay Provides An Introduction to Subcontinent". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 เมษายน 2014. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2012.(ต้องรับบริการ)
- ↑ Duncan Forbes (1968). The heart of India. Hale. p. 76. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มีนาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 3 เมษายน 2012.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อbbc
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ประตูสู่อินเดีย