แม่น้ำโอเดอร์

แม่น้ำในใจกลางทวีปยุโรป

แม่น้ำโอเดอร์ (เยอรมัน: Oder), แม่น้ำออดรา (เช็ก, ซอร์เบียตอนล่าง และโปแลนด์: Odra)[a] หรือ แม่น้ำวุตรา (ซอร์เบียตอนบน: Wódra) เป็นแม่น้ำในยุโรปตอนกลาง ถือเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของประเทศโปแลนด์ และมีความยาวมากเป็นอันดับสามในชายแดนประเทศเดียวกัน เป็นรองเพียงแม่น้ำวิสวาและแม่น้ำวาร์ตา[1] ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาทางตะวันออกของประเทศเช็กเกีย ไหลไปทางเหนือผ่านด้านตะวันตกของประเทศโปแลนด์ มีแม่น้ำไนเซอไหลมารวมด้วยใกล้เมืองฟรังค์ฟวร์ทอันแดร์โอเดอร์ จากนั้นไหลขึ้นไปทางเหนือเป็นเส้นเขตแดนระหว่างประเทศโปแลนด์กับประเทศเยอรมนีที่มีความยาว 187 กิโลเมตร (116 ไมล์)[2] ก่อนไหลลงไปที่ทะเลบอลติก แม่น้ำมีความยาว 854 กิโลเมตร

แม่น้ำโอเดอร์
แม่น้ำออดรา, แม่น้ำวุตรา
แม่น้ำโอเดอร์ที่เมืองวรอตสวัฟ ประเทศโปแลนด์
เกาะแรญจิญสกาก่อนการสร้างสะพานแรญจิญสกี
Polen = โปแลนด์, Deutschland = เยอรมนี และ Tschechien = เช็กเกีย
ที่ตั้ง
ประเทศ เช็กเกีย
 โปแลนด์
 เยอรมนี
ลักษณะทางกายภาพ
ต้นน้ำ 
 • ตำแหน่งFidlův kopec, Oderské vrchy, แคว้นออลอโมตซ์ เช็กเกีย
 • พิกัด49°36′47″N 017°31′15″E / 49.61306°N 17.52083°E / 49.61306; 17.52083
 • ระดับความสูง634 เมตร (2,080 ฟุต)
ปากน้ำลากูนชแชชิน
 • ตำแหน่ง
ทะเลบอลติก ประเทศโปแลนด์
 • พิกัด
53°40′19″N 14°31′25″E / 53.67194°N 14.52361°E / 53.67194; 14.52361
ความยาว840 กิโลเมตร (520 ไมล์)
พื้นที่ลุ่มน้ำ119,074 ตารางกิโลเมตร (45,975 ตารางไมล์)
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งปากแม่น้ำ
 • เฉลี่ย567 cubic metre per second (20,000 cubic foot per second)

แควสำคัญทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำได้แก่ แม่น้ำนีซา แม่น้ำคาชาวาบูเบอร์ และแม่น้ำไนเซอ และแควสำคัญทางฝั่งขวาคือแม่น้ำวาร์ตา

หมายเหตุ

แก้
  1. เสียงอ่านภาษาเช็ก: [ˈodra] (  ฟังเสียง), เสียงอ่านภาษาโปแลนด์: [ˈɔdra] (  ฟังเสียง)

อ้างอิง

แก้
  1. kontakt@naukowiec.org, naukowiec.org. "Największe rzeki w Polsce". Naukowiec.org. สืบค้นเมื่อ 13 August 2018.
  2. Statistical Yearbook of the Republic of Poland 2017, Statistics Poland, p. 85–86

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

  บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Oder" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 20 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. pp. 2–3.