แตงไทย (อังกฤษ: Muskmelon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Cucumis melo) อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae ทางภาคเหนือเรียก แตงลายหรือมะแตงสุก ภาคอีสานเรียก แตงจิงหรือแตงกิง ภาษาเขมรเรียกซกเซรา ภาษากะเหรี่ยงเรียก ดี มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยไปถึงแหลมโคโมริน [2] รวมทั้งพันธุ์ที่ผิวเรียบ เช่น honeydew crenshaw และ casaba และพันธุ์ที่ผิวไม่เรียบ เช่น แคนตาลูป แตงเปอร์เซีย และ Christmas melon แตงกวาอาร์เมเนีย จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับแตงไทย แม้ว่ารูปร่างและรสชาติจะใกล้เคียงกับแตงกวา

แตงไทย
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
เคลด: โรสิด
Rosids
อันดับ: อันดับแตง
Cucurbitales
วงศ์: วงศ์แตง
Cucurbitaceae
สกุล: Cucumis
Cucumis
L.
สปีชีส์: Cucumis melo
ชื่อทวินาม
Cucumis melo
L.
ชื่อพ้อง[1]
รายการ
    • Cucumis acidus Jacq.
    • Cucumis agrestis (Naudin) Greb. nom. inval.
    • Cucumis alba Nakai
    • Cucumis ambiguus Fenzl ex Hook.f. nom. inval.
    • Cucumis arenarius Schumach. & Thonn.
    • Cucumis aromaticus Royle
    • Cucumis bardanus Fenzl ex Naudin nom. inval.
    • Cucumis bisexualis A.M.Lu & G.C.Wang
    • Cucumis callosus (Rottler) Cogn.
    • Cucumis campechianus Kunth
    • Cucumis cantalupensis Haberle ex M.Roem. nom. illeg.
    • Cucumis cantalupo Rchb.
    • Cucumis chate Hasselq.
    • Cucumis chate L.
    • Cucumis chinensis (Pangalo) Pangalo
    • Cucumis chito C.Morren
    • Cucumis cicatrisatus Stocks
    • Cucumis cognata Fenzl ex Hook.f. nom. inval.
    • Cucumis conomon Thunb.
    • Cucumis cubensis Schrad.
    • Cucumis deliciosus Salisb. nom. illeg.
    • Cucumis dudaim L.
    • Cucumis eriocarpus Boiss. & Noë
    • Cucumis erivanicus Steud. nom. inval.
    • Cucumis flexuosus L.
    • Cucumis jamaicensis Bertero ex Spreng.
    • Cucumis jucunda F.Muell.
    • Cucumis laevigatus Chiov.
    • Cucumis maculatus Willd.
    • Cucumis microcarpus (Alef.) Pangalo
    • Cucumis microsperma Nakai
    • Cucumis microspermus Nakai
    • Cucumis momordica Roxb.
    • Cucumis moschatus Gray nom. illeg.
    • Cucumis odoratissimus Moench nom. illeg.
    • Cucumis odoratissimus W.M.Carp. & Riddell nom. illeg.
    • Cucumis officinarum-melo Crantz
    • Cucumis orientalis Kudr.
    • Cucumis pancherianus Naudin
    • Cucumis pedatifidus Schrad.
    • Cucumis persicodorus Seitz
    • Cucumis persicus (Sarg.) M.Roem.
    • Cucumis pictus Jacq.
    • Cucumis princeps Wender.
    • Cucumis pseudocolocynthis Royle
    • Cucumis pseudocolocynthis Wender.
    • Cucumis pubescens Willd.
    • Cucumis pyriformis Roxb. ex Wight & Arn. nom. inval.
    • Cucumis reflexus Zeyh. ex Ser. nom. inval.
    • Cucumis reginae Schrad.
    • Cucumis schraderianus M.Roem.
    • Cucumis serotinus Haberle ex Seitz
    • Cucumis trigonus Roxb.
    • Cucumis turbinatus Roxb.
    • Cucumis umbilicatus Salisb. nom. illeg.
    • Cucumis utilissimus Roxb.
    • Cucumis villosus Boiss. & Noë nom. inval.
    • Cucurbita aspera Sol. ex G.Forst. nom. inval.
    • Ecballium lambertianum M.Roem.
    • Melo adana (Pangalo) Pangalo
    • Melo adzhur Pangalo
    • Melo agrestis (Naudin) Pangalo
    • Melo ameri Pangalo
    • Melo cantalupensis (Naudin) Pangalo
    • Melo cassaba Pangalo
    • Melo chandalak Pangalo
    • Melo chinensis Pangalo
    • Melo conomon Pangalo
    • Melo dudaim (L.) Sageret
    • Melo figari Pangalo
    • Melo flexuosus (L.) Pangalo
    • Melo microcarpus (Alef.) Pangalo
    • Melo monoclinus Pangalo
    • Melo orientalis (Kudr.) Nabiev
    • Melo persicus Sageret
    • Melo sativus Sageret
    • Melo vulgaris Moench ex Cogn.
    • Melo zard Pangalo
    • Melo × ambiguua Pangalo

แตงไทยป็นพืชล้มลุก ลำต้นเป็นเถาเลื้อย มีขนอ่อน ปกคลุมตลอดทั้งลำต้นและใบ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ก้านใบยาว ดอกสีเหลือง มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ผลมีขนาดค่อนข้างใหญ่ รูปร่างกลมยาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 12-15 ซม. ยาว 20-25 ซม. ผลอ่อนสีเขียวและมีลายสีขาวพาดยาว เมื่อผลแก่เปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผิวเรียบเป็นมัน เนื้อในผลสีเหลืองอ่อนอมเขียว กลิ่นหอม มีเมล็ดรูปแบนรี สีครีมจำนวนมาก แตงไทยให้ผลผลิตในช่วงหน้าร้อน สามารถปลูกได้ทุกภาคทั่วประเทศไทย

การใช้ประโยชน์

แก้

ผลอ่อนของแตงไทยนำมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริกหรือนำไปดอง ผลสุกมีรสจืดหรืออมหวานเล็กน้อย เนื้อซุย ชุ่มน้ำ กลิ่นหอม นิยมกินสดหรือทำของหวาน เช่น น้ำกะทิแตงไทย และทำน้ำปั่น ทำเป็นผลไม้แห้งได้ บางพันธุ์ปลูกเพื่อนำเมล็ดไปสกัดน้ำมัน บางชนิดปลูกเพื่อต้องการนำกลิ่นหอมไปใช้ประโยชน์[3]

แตงไทยมีคาร์โบไฮเดรด แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี[4] เนื้อมีฤทธิ์เย็น ช่วยดับกระหาย แก้เลือดกำเดาไหล ดอกอ่อนตากแห้งต้มดื่มช่วยให้อาเจียน แก้โรคดีซ่าน หรือบดเป็นผงพ่นแก้แผลในจมูก เมล็ดแก่ช่วยในการขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไอ รากต้มดื่มช่วยระบายท้อง[5]

รวมภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. The Plant List: A Working List of All Plant Species, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-04, สืบค้นเมื่อ 23 January 2016
  2. นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. แตงไทย ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 81
  3. National Research Council (2008-01-25). "Melon". Lost Crops of Africa: Volume III: Fruits. Lost Crops of Africa. Vol. 3. National Academies Press. ISBN 978-0-309-10596-5. สืบค้นเมื่อ 2008-07-17.
  4. Nutrition Facts for melons, cantaloupe
  5. ประโยชน์ด้านอื่นๆ

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้