บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง
(เปลี่ยนทางจาก เจอาร์ เซ็นทรัล)
บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง (ญี่ปุ่น: 東海旅客鉄道株式会社; โรมาจิ: Tōkai Ryokaku Tetsudō Kabushiki-gaisha) (TYO: 9022) เป็นหนึ่งในบริษัทในกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (JR Group) โดยมักใช้ชื่อเรียกอย่างย่อว่า JR ตอนกลาง (ญี่ปุ่น: JR東海; โรมาจิ: JR Tōkai) ดำเนินการให้บริการรถไฟในภูมิภาคชูบุ (นะโงะยะ)
ประเภท | บริษัทมหาชน KK |
---|---|
การซื้อขาย | TYO: 9022 |
ISIN | JP3566800003 |
อุตสาหกรรม | รถไฟเอกชน |
ก่อนหน้า | การรถไฟญี่ปุ่น (JNR) |
ก่อตั้ง | 1 เมษายน พ.ศ. 2530 (แตกออกจาก JNR) |
สำนักงานใหญ่ | JR เซ็นทรัล ทาวเวอร์ , 1-1-4 เมเอะกิ, เขตนะกะมุระ, นะโงะนะ, ไอชิ 450-6101 , ญี่ปุ่น |
พื้นที่ให้บริการ | ภูมิภาคโทไก |
บุคลากรหลัก | โยะชิยุกิ คะไซ, ประธาน มะซะกิ มะสึโมะโตะ, กรรมการผู้จัดการ |
ผลิตภัณฑ์ | โทะอิกะ, (สมาร์ตการ์ด) |
บริการ | รถไฟขนส่งผู้โดยสาร[1] บริการการท่องเที่ยว[1] ขายส่ง และ ขายปลีก[1] ดำเนินงานที่จอดรถ [1] อสังหาริมทรัพย์ [1] อาหาร และ เครื่องดื่ม [1] ประกันวินาศภัย [1] และบริการอื่นๆ [1] |
รายได้ | ¥1,503,083 ล้าน (2011)[2] |
รายได้จากการดำเนินงาน | ¥349,347 ล้าน (2011)[2] |
รายได้สุทธิ | ¥133,807 ล้าน (2011)[2] |
สินทรัพย์ | ¥5,252,993 ล้าน (2011)[2] |
ส่วนของผู้ถือหุ้น | ¥1,246,154 ล้าน (2011)[2] |
เจ้าของ | Mizuho Corporate Bank (4.37%)[3] Japan Trustee Services Bank (4.29%)[3] The Master Trust Bank of Japan (3.48%)[3] The Nomura Trust & Banking (3.18%)[3] The Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ (2.98%)[3] Nippon Life (2.23%)[3] โตโยต้า มอเตอร์ (1.79%)[3] สหภาพลูกจ้างผู้ถือหุ้น (1.73%)[3] Mizuho Bank (1.53%)[3] (31 มีนาคม 2009) |
พนักงาน | 16,193 (31 มีนาคม 2008)[1] |
แผนก | Conventional lines operations[4] Shinkansen operations[4] |
บริษัทในเครือ | 39 กลุ่มบริษัท[1] |
เว็บไซต์ | english.jr-central.co.jp/index.html |
ในปี พ.ศ. 2552 JR ตอนกลางมีผู้ใช้บริการรถไฟความเร็วสูงกว่า 138 ล้านคน มากกว่าสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของโลก[5] ในขณะที่ทั้งประเทศญี่ปุ่นมีผู้ใช้บริการรถไฟความเร็วสูงทั้งสิ้น 289 ล้านคน [5]
เส้นทาง
แก้ชิงกันเซ็ง
แก้- โทไกโด ชิงกันเซ็ง: สถานีโตเกียว—สถานีชิง-โอซะกะ (552.6 กม.)
ทั่วไป
แก้- สายหลักโทไกโด
- สถานีอะตะมิ—สถานีไมบะระ (341.3 กม.)
- สายโกเต็มบะ
- สถานีโคซุ—สถานีนุมะซุ (60.2 กม.)
- สายมิโนะบุ
- สายอีดะ
- สถานีโทะโยะฮะชิ—สถานีทะสึโนะ (195.7 กม.)
- สายทะเกะโตะโยะ
- สถานีโอบุ—สถานีทะเกะโทะโยะ (19.3 กม.)
- สายหลักทะกะยะมะ
- สถานีกิฟุ—สถานีอิโนะตะนิ (189.2 กม.)
- สายหลักชูโอ
- สถานีชิโอะจิริ—สถานีนะโงะยะ (174.8 กม.)
- สายไทตะ
- สถานีทะจิมะ—สถานีมิโนะ-โอตะ (17.8 กม.)
- สายโจโฮะกุ
- สถานีคะชิงะวะ—สถานีบิวะจิมะ (11.2 กม.) (ดำเนินงานโดย บริการขนส่งโทไก)
- สายหลักคันไซ
- สถานีนะโงะยะ—สถานีคะเมะยะมะ (59.9 กม.)
- สายหลักคิเซ
- สถานีคะเมะยะมะ—สถานีชิชิงงู (180.2 กม.)
- สายเมโช
- สถานีมะสึซะกะ—สถานีอิเซะ-โอะกิสึ (43.5 กม.)
- สายซังงู
- สถานีทะกิ—สถานีโทะบะ (29.1 กม.)
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 Central Japan Railway Company. "DATA BOOK 2008" (PDF). สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2009.(อังกฤษ)
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 Central Japan Railway Company. "Summary of Financial Report for the Year Ended March 31, 2011(Unaudited)" (PDF). สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2011.(อังกฤษ)
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 Central Japan Railway Company. "第22期有価証券報告書(自平成20年4月1日 至平成21年3月31日)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-07-11. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2009.(ญี่ปุ่น)
- ↑ 4.0 4.1 Central Japan Railway Company. "Organization Chart (กรกฎาคม 2008)". สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2009.(อังกฤษ)
- ↑ 5.0 5.1 http://www.bloomberg.com/news/2011-02-08/rail-s-cash-flow-king-stakes-62-billion-on-tokyo-maglev-train.html
ข้อมูลเพิ่มเติม
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง
- บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง (อังกฤษ)