หน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ
(เปลี่ยนทางจาก หน่วยที่ยอมรับให้ใช้กับระบบเอสไอ)
มีหน่วยวัดบางหน่วยซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (ระบบเอสไอ) แต่ได้รับการยอมรับให้ใช้แก่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ [1][2] เนื่องจากเป็นพหุคูณหรือพหุคูณย่อยของหน่วยเอสไอ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากกว่า หรือสะดวกกว่าสำหรับวิทยาศาสตร์บางสาขา
หน่วยวัดที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไออย่างเป็นทางการ
แก้ชื่อ | สัญลักษณ์ | ปริมาณ | หน่วยเอสไอเทียบเท่า |
---|---|---|---|
นาที | min | เวลา | 1 min = 60 s |
ชั่วโมง | h | 1 h = 60 min = 3600 s | |
วัน | d | 1 d = 24 h = 1440 min = 86400 s | |
หน่วยดาราศาสตร์ | au[3][4][5] | ความยาว | 1 au = 149597870700 m |
องศา | ° | มุม | 1° = π180 rad |
ลิปดา | ′ | 1′ = 160° = π10800 rad | |
พิลิปดา | ″ | 1″ = 160′ = 13600° = π648000 rad | |
เฮกตาร์ | ha | พื้นที่ | 1 ha = 100 a = 10000 m2= 1 hm2 |
ลิตร | l, L | ปริมาตร | 1 L = 1 dm3 = 1000 cm3 = 0.001 m3 |
ตัน | t | มวล | 1 t = 103 kg = 1 Mg |
ดอลตัน | Da | 1 Da = 1.66053886(28)×10−27 kg | |
อิเล็กตรอนโวลต์ | eV | พลังงาน | 1 eV = 1.60217653(14)×10−19 J |
หน่วยวัดเชิงลอการิทึม | |||
เนเปอร์ | Np | อัตราส่วนปริมาณสนาม | LF = ln(F/F0) Np |
อัตราส่วนกำลัง | LP = 12ln(P/P0) Np | ||
เบล, เดซิเบล | B, dB | อัตราส่วนปริมาณสนาม | LF = 2 log10(F/F0) B |
อัตราส่วนกำลัง | LP = log10(P/P0) B |
หน่วยวัดธรรมชาติ
แก้หน่วยวัดธรรมชาติถูกกล่าวถึงในแผ่นพับ SI พิมพ์ครั้งที่ 8 แต่ไม่ถูกกล่าวถึงในฉบับปัจจุบัน(พิมพ์ครั้งที่ 9)[6]
หน่วยวัดธรรมชาติ (Natural Unit: n.u.) | |||
หน่วยวัดธรรมชาติของความเร็วแสง | c0 | ความเร็วแสง | 299792458 m/s (จากนิยามเอสไอ) |
หน่วยวัดธรรมชาติของปฏิกิริยา | ħ | ค่าคงที่ของพลังค์ | 1.05457168(18)×10−34 J·s |
หน่วยวัดธรรมชาติของมวล | me | มวลอิเล็กตรอน | 9.1093826(16)×10−31 kg |
หน่วยวัดธรรมชาติของเวลา | ħ/(mec02) | เวลา (คาบของคลื่นอิเล็กตรอนในทฤษฎีทวิภาคของคลื่นและอนุภาค) | 1.2880886677(86)×10−21 s |
หน่วยวัดอะตอม (Atomic Unit: a.u.) | |||
หน่วยวัดอะตอมของประจุอิเล็กตรอน | e | ประจุอิเล็กตรอน | 1.60217653(14)×10−19 C |
หน่วยวัดอะตอมของความยาว | a0 | รัศมีของโบร์ | 0.5291772108(18)×10−10 m |
หน่วยวัดอะตอมของพลังงาน | Eh | พลังงานฮาร์ตี | 4.35974417(75)×10−18 J |
หน่วยวัดอะตอมของเวลา | ħ/Eh | เวลา (คาบของคลื่นที่อิเล็กตรอนดูดกลืนเพื่อเป็นอิสระจากอะตอมไฮโดรเจนในสถานะพื้น) | 2.418884326505(16)×10−17 s |
หน่วย CGS
แก้หน่วย CGS ถูกสร้างจากหน่วยฐาน 3 หน่วย คือ เซนติเมตร กรัม และวินาที มีหลายระบบ ได้แก่ระบบ CGS-ESU(ไฟฟ้าสถิต) CGS-EMU(ไฟฟ้าแม่เหล็ก) และ CGS-Gaussian โดย CGS-Gaussian มีข้อได้เปรียบในบางสาขาของฟิสิกส์ จึงถูกกล่าวถึงในแผ่นพับ SI พิมพ์ครั้งที่ 8[7]
ปริมาณ | ชื่อหน่วย | ค่าในหน่วยเอสไอ | |
---|---|---|---|
พลังงาน | เอิร์ก | erg | 1 erg = 10-7 J |
แรง | ดายน์ | dyn | 1 dyn = 10-5 N |
ความหนืดพลวัต | พอยส์ | P | 1 P = 1 dyn s cm−2 = 0.1 Pa s |
ความหนืดจลนศาสตร์ | สโตกส์ | St | 1 St = 1 cm2 s−1 = 10-4 m2 s-1 |
ความส่องสว่าง | สติลบ์ | sb | 1 sb = 1 cd cm−2 = 104 cd m-2 |
ความสว่าง | ฟ็อต | ph | 1 ph = 1 cd sr cm−2 = 104 lx |
ความเร่ง | แกล | Gal | 1 Gal = 1 cm s−2 = 10-2 m s-2 |
ฟลักซ์แม่เหล็ก | แม็กซ์เวลล์ | Mx | 1 Mx = 1 G cm2 = 10-8 wb |
ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก | เกาส์ | G | 1 G = 1 Mx cm−2 = 10-4 T |
สนามแม่เหล็ก | เออร์สเตด | Oe | 1 Oe =ˆ (103/4π) A m−1 |
หน่วยวัดที่ใช้อย่างแพร่หลายแต่ยังไม่ยอมรับอย่างเป็นทางการ
แก้ชื่อ | สัญลักษณ์ | ปริมาณ | หน่วยเอสไอเทียบเท่า |
---|---|---|---|
อังสตรอม | Å | ความยาว (คิดค้นโดยอังสตรอมเท่ากับ 10−10 เมตร ใช้ในฟิสิกส์นิวเคลียร์) | 1 Å = 0.1 nm = 10−10 m |
ไมล์ทะเล | nm | ความยาว (เท่ากับระยะที่กวาดบนเส้นศูนย์สูตรหนึ่งพิลิปดา ใช้ในการเดินเรือ) | 1 ไมล์ทะเล = 1852 m |
น็อต | kt | น็อต (เท่ากับหนึ่งไมล์ทะเลต่อวินาที ใช้ในการเดินเรือ) | 1 น็อต = 1 ไมล์ทะเลต่อวินาที = (1852/3600) m/s |
อาร์ | a | พื้นที่ (เท่ากับ 1/100 เฮกตาร์ เป็นคำ) | 1 a = 1 dam2 = 100 m2 |
บาร์น | b | พื้นที่ (เท่ากับพื้นที่หน้าตัดของนิวเคลียสของอะตอมยูเรเนียมโดยประมาณ ใช้ในฟิสิกส์นิวเคลียร์) | 1 b = 10−28 m2 |
บาร์ | bar | ความดัน (เท่ากับความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลโดยประมาณ) | 1 bar = 105 Pa |
มิลลิเมตรปรอท | mmHg | ความดัน | 1 mmHg ≈ 133.322 Pa |
มิลลิบาร์ | mbar | ความดัน | 1 mbar = 1 hPa = 100 Pa (มักใช้ในการวัดความดันในชั้นบรรยากาศ) |
บรรยากาศ | atm | ความดัน (เท่ากับความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลโดยประมาณ) | 1 atm = 1013.25 mbar = 1013.25 hPa = 1.01325×105 Pa (มักใช้ในการวัดความดันในชั้นบรรยากาศ) |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "Non-SI units accepted for use with the SI, and units based on fundamental constants" (PDF). SI brochure (8th edition). BIPM. สืบค้นเมื่อ 2010-08-28.
- ↑ Taylor, Barry N. (ed.) (2001). "The International System of Units (SI)" (PDF). Special Publication 330. Gaithersburg, Maryland: National Institute of Standards and Technology (NIST). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-06-03. สืบค้นเมื่อ 2011-03-03.
{{cite web}}
:|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - ↑ International Bureau of Weights and Measures (2006), The International System of Units (SI) (PDF) (8th ed.), p. 126, ISBN 92-822-2213-6
- ↑ ISO 80000
- ↑ The IAU Style Manual (1989): The Preparation of Astronomical Papers and Reports (PDF), p. 23
- ↑ https://www.bipm.org/en/publications/si-brochure
- ↑ https://www.bipm.org/en/publications/si-brochure