สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ชั้น | ความยาว- คลื่น |
ความถี่ |
พลังงานต่อ โฟตอน | |||
---|---|---|---|---|---|---|
รังสีก่อไอออน | γ | รังสีแกมมา | 1 pm | 300 EHz | 1.24 MeV | |
10 pm | 30 EHz | 124 keV | ||||
HX | ฮาร์ดรังสีเอกซ์ | |||||
100 pm | 3 EHz | 12.4 keV | ||||
SX | ซอฟต์รังสีเอกซ์ | |||||
1 nm | 300 PHz | 1.24 keV | ||||
10 nm | 30 PHz | 124 eV | ||||
EUV | เอ็กซ์ตรีม อัลตราไวโอเลต | |||||
100 nm | 3 PHz | 12.4 eV | ||||
NUV | เนียร์อัลตราไวโอเลต, มองได้ | |||||
1 μm | 300 THz | 1.24 eV | ||||
NIR | เนียร์อินฟราเรด | |||||
10 μm | 30 THz | 124 meV | ||||
MIR | มิดอินฟราเรด | |||||
100 μm | 3 THz | 12.4 meV | ||||
FIR | ฟาร์อินฟราเรด | |||||
1 mm | 300 GHz | 1.24 meV | ||||
ไมโครเวฟ | EHF | ความถี่สูงสุด | ||||
1 cm | 30 GHz | 124 μeV | ||||
SHF | ความถี่สูงพิเศษ | |||||
1 dm | 3 GHz | 12.4 μeV | ||||
UHF | ความถี่สูงยิ่ง | |||||
1 m | 300 MHz | 1.24 μeV | ||||
คลื่นวิทยุ | VHF | ความถี่สูงมาก | ||||
10 m | 30 MHz | 124 neV | ||||
HF | ความถี่สูง | |||||
100 m | 3 MHz | 12.4 neV | ||||
MF | ความถี่ปานกลาง | |||||
1 km | 300 kHz | 1.24 neV | ||||
LF | ความถี่ต่ำ | |||||
10 km | 30 kHz | 124 peV | ||||
VLF | ความถี่ต่ำมาก | |||||
100 km | 3 kHz | 12.4 peV | ||||
ULF | ความถี่ต่ำยิ่ง | |||||
1 Mm | 300 Hz | 1.24 peV | ||||
SLF | ความถี่ต่ำพิเศษ | |||||
10 Mm | 30 Hz | 124 feV | ||||
ELF | ความถี่ต่ำสุด | |||||
100 Mm | 3 Hz | 12.4 feV | ||||
ที่มา: [1][2][3][4] |
สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (อังกฤษ: electromagnetic spectrum) คือ แถบรังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน สเปกตรัมที่มองเห็นได้คือแสง เมื่อแสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการหักเหเป็นแสงสีต่างๆ ซึ่งเรียกสเปกตรัมตั้งแต่ความยาวคลื่นน้อยไปหามากตามลำดับ ดังนี้ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง
อ้างอิง
แก้- ↑ File:Light spectrum.svg
- ↑ What is Light? เก็บถาวร ธันวาคม 5, 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – UC Davis lecture slides
- ↑ Elert, Glenn. "The Electromagnetic Spectrum". The Physics Hypertextbook. สืบค้นเมื่อ 2022-01-21.
- ↑ Stimac, Tomislav. "Definition of frequency bands (VLF, ELF... etc.)". vlf.it. สืบค้นเมื่อ 2022-01-21.