สัญญาณรบกวนจอห์นสัน–นือควิสต์ (อังกฤษ: Johnson–Nyquist noise) คือสัญญาณรบกวนซึ่งมีผลมาจากอุณหภูมิ ซึ่งมาจาการที่พลังงานความร้อน มีผลต่อการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในตัวนำไฟฟ้า สัญญาณนี้ได้ถูกทดลองโดย จอห์น บี จอห์นสัน (John B. Johnson) แต่ได้รับการอธิบายในทางทฤษฎีโดยฮารี นือควิสต์ โดยได้ผลตรงกัน
ในแบบจำลองทางทฤษฎี เราจะสมมุติปัญหาให้เป็นความผันผวนจากอุณหภูมิแบบสุ่มของอิเล็กตรอนภายตัวต้านทาน 1 มิติ ที่มีความยาวเป็น L มีพื้นที่หน้าตัดเป็น A มีความต้านทาน R และมีศักย์ไฟฟ้าตกคร่อมจากกฎของโอห์ม V=IR โดยกระแสและศักย์ไฟฟ้านั้นจะมีผลมาจากความผันผวนทางอุณหภูมิ ที่จะอนุญาตให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปในทิศทางหนึ่งๆ มากกว่าทิศทางอื่นๆ
โดยปรกติแล้วเมื่อไม่มีกระแสไหล จะได้ว่าศักย์ไฟฟ้าเฉลี่ยจะมีค่าเท่ากับศูนย์ จากการที่อิเล็กตรอนควรจะเคลื่อนที่แบบสุ่มไปเท่าๆกันทั้งสองด้านของตัวนำไฟฟ้า
นั่นคือ
แต่ว่าในความเป็นจริงความผันผวนทางอุณหภูมิควรจะทำให้ค่าของศักย์ไฟฟ้ามีค่าที่เวลาต่างๆ
จึงใช้ผลจาก
คือศักย์จากสัญญาณรบกวนทางอุณหภูมิ (thermal noise voltage)
จากกฎของโอห์ม
โดยที่ L คือความยาวของตัวต้านทาน เป็นการเคลื่อนที่โดยรวมตามทิศทาง x ของอิเล็กตรอนทุกตัวในช่วงเวลา
จะได้ว่า
คือระยะทางเฉลี่ยที่อิเล็กตรอนแต่ละตัวเคลื่อนที่ และ
คือจำนวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ทั้งหมดในช่วงเวลา
จะได้ว่า
และจาก
โดย n คือความหนาแน่นของอิเล็กตรอนที่ถูกเหนี่ยวนำ
คือช่วงเวลาที่อิเล็กตรอนแต่ละตัวจะปะทะ (Collision) กัน
จาก
และความสัมพันธ์อัตราเร็วกับอุณหภูมิ
โดย m คือมวลอิเล็กตรอน
นั่นคือ
จะได้ว่า
แต่ว่า
ดังนั้น
โดยที่
ความถี่สัญญาณ (bandwidth) [ความหนาแน่นพลังงานในความถี่] [power spectral density]