สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ
สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ (อังกฤษ: Council for Mutual Economic Assistance) หรือ คอมิคอน (Comecon) เป็นองค์กรความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มตะวันออก และรัฐคอมมิวนิสต์บางแห่งทั่วโลก
สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ Совет Экономической Взаимопомощи Sovét Ekonomícheskoy Vzaimopómoshchi (BGN/PCGN Russian) Sovet Ekonomičeskoj Vzaimopomošči (GOST Russian) | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1949–1991 | |||||||||||||||||||||
แผนที่ของรัฐสมาชิก เมื่อพฤศจิกายน 1986: สมาชิก อดีตสมาชิก สมาชิกสมทบ สังเกตการณ์ | |||||||||||||||||||||
สำนักงานใหญ่ | มอสโก | ||||||||||||||||||||
เมืองใหญ่สุด | มอสโก | ||||||||||||||||||||
ภาษาทางการ | |||||||||||||||||||||
ประเภท | สหภาพเศรษฐกิจ | ||||||||||||||||||||
รัฐสมาชิก | |||||||||||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น | ||||||||||||||||||||
• ก่อตั้งองค์กร | 5–8 มกราคม 1949 | ||||||||||||||||||||
• ยุติ | 28 มิถุนายน 1991 | ||||||||||||||||||||
26 ธันวาคม 1991 | |||||||||||||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||||||||||||
1960 | 23,422,281 ตารางกิโลเมตร (9,043,393 ตารางไมล์) | ||||||||||||||||||||
1989 | 25,400,231 ตารางกิโลเมตร (9,807,084 ตารางไมล์) | ||||||||||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||||||||||
• 1989 | 504 ล้านคน | ||||||||||||||||||||
สกุลเงิน | |||||||||||||||||||||
ขับรถด้าน | ชิดขวา | ||||||||||||||||||||
|
มอสโกกังวลเรื่องแผนมาร์แชลล์ คอมิคอนมีขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศในขอบเขตอิทธิพลของโซเวียตไปสู่อิทธิพลของอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คอมิคอนได้รับการตอบรับจากกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ถึงการก่อตัวในยุโรปตะวันตกขององค์การเพื่อการดำเนินงานทางเศรษฐกิจของยุโรป (OEEC)[1] การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในปี 1957 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1961
ชี่อในภาษาต่าง ๆ
แก้- ภาษาแอลเบเนีย – Këshilli i Ndihmës Ekonomike Reciproke, KNER
- ภาษาบัลแกเรีย – Съвет за икономическа взаимопомощ (Sǎvet za ikonomičeska vzaimopomošt), СИВ (SIV)
- ภาษาเช็ก – Rada vzájemné hospodářské pomoci, RVHP
- ภาษาเอสโตเนีย – Vastastikkuse Majandusabi Nõukogu, VMN
- ภาษาเยอรมัน – Rat für gegenseitige Wirtschaftshilfe, RGW (only East Germany was a member)
- ภาษาฮังการี – Kölcsönös Gazdasági Segítség Tanácsa, KGST
- ภาษาลัตเวีย – Savstarpējās ekonomiskās palīdzības padome, SEPP
- ภาษาลิทัวเนีย – Ekonominės Savitarpio Pagalbos Taryba, ESPT
- ภาษาโปแลนด์ – Rada Wzajemnej Pomocy Gospodarczej, RWPG
- ภาษาโปรตุเกส – Conselho para Assistência Económica Mútua, CAEM (Mozambique had a cooperation agreement)
- ภาษาโรมาเนีย – Consiliul de Ajutor Economic Reciproc, CAER
- ภาษารัสเซีย – Сове́т экономи́ческой взаимопо́мощи (Sovet ekonomicheskoy vzaimopomoshchi), СЭВ (SEV)
- ภาษาสโลวัก – Rada vzájomnej hospodárskej pomoci, RVHP
- ภาษาสเปน – Consejo de Ayuda Mutua Económica, CAME (Cuba was a member)
- ภาษายูเครน – Рада Економічної Взаємодопомоги, РЕВ (REV)
- ภาษาเวียดนาม – Hội đồng Tương trợ Kinh tế, HĐTTKT
สมาชิกภาพ
แก้มกราคม ค.ศ. 1949 :
- สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
- สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
- สหภาพโซเวียต
กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1949 :
- สาธารณรัฐประชาชนสังคมนิยมแอลเบเนีย (ได้ลาออกจากคอมิคอนในปี ค.ศ. 1961 หลังจากความแตกแยกระหว่างโซเวียต-แอลเบเนีย)
ค.ศ. 1950 :
ค.ศ. 1962 :
ค.ศ. 1972 :
ค.ศ. 1978 :
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Germany (East)", Library of Congress Country Study, Appendix B: The Council for Mutual Economic Assistance เก็บถาวร 2009-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน