วิสุทธิ์ นาเงิน
พลเอกวิสุทธิ์ นาเงิน (ชื่อเล่น : หรั่ง,บิ๊กหรั่ง) อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม,อดีตเจ้ากรมเสมียนตรา
วิสุทธิ์ นาเงิน | |
---|---|
รองปลัดกระทรวงกลาโหม[1] | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 |
คู่สมรส | นางวิไลวรรณ นาเงิน |
บุตร | นางสาววิสุตา นาเงิน |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | กระทรวงกลาโหม |
ประจำการ | 2524 - 2561 |
ยศ | พลเอก |
ประวัติ
แก้พลเอกวิสุทธิ์จบการศึกษาจาก โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 17 และ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น 28 รุ่นเดียวกับพลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร อดีตรองผู้บัญชาการทหารบกและอดีตเสนาธิการทหารบก
การศึกษา
แก้- พ.ศ. 2517 โรงเรียนวัดราชาธิวาส
- พ.ศ. 2519 โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๗
- พ.ศ. 2524 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๘
- พ.ศ. 2530 หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่าทหารปืนใหญ่ รุ่นที่ ๓๒
- พ.ศ. 2532 หลักสูตรหลักประจำ ชุดที่ ๖๗ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
- พ.ศ. 2555 หลักสูตรวิทยาลัยรองปลัดกระทรวงกลาโหมราชอาณาจักรภาครัฐร่วมกับเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ ๕๔
- พ.ศ. 2560 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ของสถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ ๒๕
การรับราชการทหาร
แก้- พ.ศ. ๒๕๒๙ ผู้บังคับกองร้อยทหารปืนใหญ่ กองพันทหารปืนใหญ่ ที่ ๒๐
- พ.ศ. ๒๕๓๔ หัวหน้าแผนก กรมกำลังพลทหารบก
- พ.ศ. ๒๕๓๘ ฝ่ายเสนาธิการประจำกรมกำลังพลทหารบก
- พ.ศ. ๒๕๔๗ นายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำรองผู้บัญชาการ ทหารบก
- พ.ศ. ๒๕๔๘ ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการประจำรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- พ.ศ. ๒๕๔๙ ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา
- พ.ศ. ๒๕๕๗ รองเจ้ากรมเสมียนตรา [2]
- พ.ศ. ๒๕๕๙ เจ้ากรมเสมียนตรา
- พ.ศ. ๒๕๖๐ รองปลัดกระทรวงกลาโหม
ราชการพิเศษ
แก้- พ.ศ. ๒๕๔๙ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารปืนใหญ่ ที่ ๑ รักษาพระองค์
- พ.ศ. ๒๕๕๔ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารราบที่ ๑มหาดเล็กรักษาพระองค์
- พ.ศ. ๒๕๕๙ - นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์- ตุลาการศาลทหารสูงสุด
- พ.ศ. ๒๕๖๐ ราชองครักษาเวร [3]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2558 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[4]
- พ.ศ. 2554 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[5]
- พ.ศ. 2526 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[6]
- พ.ศ. 2536 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[7]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[8]
อ้างอิง
แก้- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/217/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/176/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/137/1.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๘, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๑ ข หน้า ๓, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๔ เก็บถาวร 2012-11-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๔ ข หน้า ๑๕, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๐ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘๓, ๑๗ ตุลาคม ๒๕๒๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๖, ๑๑ มิถุนายน ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๑, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕