วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1

นักฟิสิกส์และวิศวกรชาวอังกฤษ (ค.ศ. 1824–1907)

วิลเลียม ธอมสัน บารอนเคลวิน ที่หนึ่ง (อังกฤษ: William Thomson, 1st Baron Kelvin; (26 มิถุนายน ค.ศ. 1824 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1907) เป็นนักฟิสิกส์คณิตศาสตร์และวิศวกร ที่มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ มีผลงานสำคัญคือการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่พิสูจน์ผลทางด้านไฟฟ้าและอุณหพลศาสตร์ ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักในฐานะผู้พัฒนามาตรฐานการวัดอุณหภูมิสัมบูรณ์ คือระบบเคลวิน (Kelvin) เขาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น บารอนเคลวิน ในปี ค.ศ. 1892 เพื่อเป็นเกียรติแก่การคิดค้นของเขา โดยนำชื่อมาจากแม่น้ำเคลวิน ที่ไหลผ่านมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ ในสก็อตแลนด์ แต่เนื่องจากเขาไม่มีทายาทสืบตระกูล ตำแหน่งบารอนเคลวินจึงมีเพียง บารอนเคลวินที่หนึ่ง เพียงคนเดียวเท่านั้น

ลอร์ดเคลวิน
วิลเลียม ธอมสัน บารอนเคลวิน ที่หนึ่ง (1824–1907)
เกิด26 มิถุนายน ค.ศ. 1824(1824-06-26)
เบลฟาสต์
เสียชีวิต17 ธันวาคม ค.ศ. 1907(1907-12-17) (83 ปี)[1]
ลาร์กส[1]
พลเมืองสหราชอาณาจักร
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยกลาสโกว์
ปีเตอร์เฮาส์, เคมบริดจ์
มีชื่อเสียงจากปรากฏการณ์จูล-ทอมสัน
ปรากฏการณ์ทอมสัน
Mirror galvanometer
Siphon recorder
Kelvin material
Kelvin water dropper
Kelvin wave
Kelvin–Helmholtz instability
Kelvin–Helmholtz mechanism
Kelvin–Helmholtz luminosity
Kelvin transform
Absolute Zero
Kelvin's circulation theorem
Kelvin bridge
Kelvin sensing
สมการเคลวิน
Magnetoresistance
Four-terminal sensing
ผู้บัญญัติศัพท์ "พลังงานจลน์"
รางวัลSmith's Prize
Royal Medal
Copley Medal
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สถาบันที่ทำงานมหาวิทยาลัยกลาสโกว์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิลเลียม ฮอปคินส์
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงวิลเลียม เอ็ดเวิร์ด ไอร์ตัน
วิลเลียม เมอเรย์ มอร์ริสัน
มีอิทธิพลต่อจอห์น พริงเกิล นิโคล
ฮัมฟรีย์ เดวี่
จูเลียส โรเบิร์ต ฟอน เมเยอร์
ได้รับอิทธิพลจากแอนดรูว์ เกรย์
ลายมือชื่อ
หมายเหตุ
เชื่อว่า "PNP" ในลายเซ็นนั้นมาจากคำว่า "ศาสตราจารย์สาขาปรัชญาธรรมชาติ" (Professor of Natural Philosophy) นอกจากนี้ลอร์ดเคลวินยังใช้นามแฝงว่า "P. Q. R." ด้วย

อ้างอิง

แก้

งานเขียนของเคลวิน

แก้
  • Thomson, W. & Tait, P.G. (1867). Treatise on Natural Philosophy. Oxford.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) 2nd edition, 1883. (reissued by Cambridge University Press, 2009. ISBN 978-1-108-00537-1)
  • Thomson, W. & Tait, P.G (1872). Elements of Natural Philosophy.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) (reissued by Cambridge University Press, 2010. ISBN 978-1-108-01448-9) 2nd edition, 1879.
  • Thomson, W. (1882–1911). Mathematical and Physical Papers. (6 vols) Cambridge University Press. ISBN 0-521-05474-5.
  • Thomson, W. (1904). Baltimore Lectures on Molecular Dynamics and the Wave Theory of Light. (reissued by Cambridge University Press, 2010. ISBN 978-1-108-00767-2)
  • — (1912). Collected Papers in Physics and Engineering. Cambridge University Press. ISBN B0000EFOL8.{{cite book}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  • Wilson, D.B. (ed.) (1990). The Correspondence Between Sir George Gabriel Stokes and Sir William Thomson, Baron Kelvin of Largs. (2 vols), Cambridge University Press. ISBN 0-521-32831-4. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Hörz, H. (2000). Naturphilosophie als Heuristik?: Korrespondenz zwischen Hermann von Helmholtz und Lord Kelvin (William Thomson). Basilisken-Presse. ISBN 3-925347-56-9.

ชีวประวัติ, ประวัติแนวคิด และการวิพากษ์วิจารณ์

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้