วิกิพจนานุกรม

เว็บไซต์พจนานุกรมภาษาและพหุภาษาเนื้อหาเสรีโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย

วิกิพจนานุกรม (อังกฤษ: Wiktionary, วิกชันนารี) เป็นโครงการหนึ่งของมูลนิธิวิกิมีเดียที่มีเป้าหมายรวบรวมคำศัพท์ วลี หรือประโยค พร้อมคำอ่าน ความหมาย คำที่เกี่ยวข้อง และคำแปลในภาษาอื่น เปรียบเสมือนพจนานุกรมทุกภาษาในที่เดียวกัน โดยมีให้ใช้งานถึง 182 ภาษา การทำงานของเว็บไซต์คล้ายกับวิกิพีเดียที่เปิดให้ใครก็ได้สามารถเพิ่มและแก้ไขเนื้อหา โดยรับรองตัวอักษรของทุกภาษาที่รหัสยูนิโคดรองรับ วิกิพจนานุกรมใช้ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิเช่นเดียวกับวิกิพีเดีย

วิกิพจนานุกรม
โลโก้วิกิพจนานุกรมภาษาไทย
ภาพจับหน้าจอ
หน้าหลักของวิกิพจนานุกรมรุ่นภาษาอังกฤษเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 2019
ประเภทพจนานุกรมออนไลน์
ภาษาที่ใช้ได้หลายภาษา (ทำงานอยู่ 171 ราย)[1]
เจ้าของมูลนิธิวิกิมีเดีย
สร้างโดยจิมมี เวลส์และชุมชนวิกิมีเดีย
ยูอาร์แอลwiktionary.org
เชิงพาณิชย์ไม่
ลงทะเบียนไม่จำเป็น
เปิดตัว12 ธันวาคม 2002; 21 ปีก่อน (2002-12-12)
สถานะปัจจุบันเปิดบริการ

เนื่องจากวิกิพจนานุกรมไม่มีข้อจำกัดในการพิจารณาพื้นที่พิมพ์ ทำให้วิกิพจนานุกรมส่วนใหญ่มีคำอธิบายและคำแปลของศัพท์จากหลายภาษา และบางรุ่นยังมีข้อมูลเพิ่มเติมที่มักพบในอรรถาภิธานด้วย

อ้างอิง

แก้
  1. Wikimedia's MediaWiki API:Sitematrix. Retrieved พฤศจิกายน 2024 from Data:Wikipedia statistics/meta.tab

ข้อมูล

แก้
  • Chesley, Paula; Vincent, Bruce; Xu, Li; Srihari, Rohini K. (2006). "Using verbs and adjectives to automatically classify blog sentiment" (PDF). Training. 580: 233–235. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-24. สืบค้นเมื่อ May 9, 2013.
  • Krizhanovsky, Andrew (2010). "Transformation of Wiktionary entry structure into tables and relations in a relational database schema". arXiv:1011.1368 [cs].
  • Krizhanovsky, Andrew (2010). "The comparison of Wiktionary thesauri transformed into the machine-readable format". arXiv:1006.5040 [cs].
  • Li, Shen; Graça, Joao V.; Taskar, Ben (2012). "Wiki-ly supervised part-of-speech tagging" (PDF). Proceedings of the 2012 Joint Conference on Empirical Methods in Natural Language Processing and Computational Natural Language Learning. Jeju Island, Korea: Association for Computational Linguistics. pp. 1389–1398. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-05-22. สืบค้นเมื่อ 2022-02-03.
  • Lepore, Jill (November 6, 2006). "Noah's Ark". The New Yorker (Abstract). สืบค้นเมื่อ April 21, 2007.
  • Lin, Feiyu; Krizhanovsky, Andrew (2011). "Multilingual ontology matching based on Wiktionary data accessible via SPARQL endpoint". Proc. of the 13th Russian Conference on Digital Libraries RCDL'2011. Voronezh, Russia. pp. 19–26. arXiv:1109.0732. Bibcode:2011arXiv1109.0732L.
  • McFate, Clifton J.; Forbus, Kenneth D. (2011). "NULEX: an open-license broad coverage lexicon" (PDF). The 49th Annual Meeting of the Association for Computational Linguistics: Human Language Technologies, Proceedings of the Conference. Portland, Oregon, USA: The Association for Computer Linguistics. pp. 363–367. ISBN 978-1-932432-88-6.
  • Otte, Pim; Tyers, F. M. (2011). "Rapid rule-based machine translation between Dutch and Afrikaans" (PDF). ใน Forcada, Mikel L.; Depraetere, Heidi; Vandeghinste, Vincent (บ.ก.). 16th Annual Conference of the European Association of Machine Translation, EAMT11. Leuven, Belgium. pp. 153–160. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-25. สืบค้นเมื่อ 2022-02-03.
  • "Wiktionary". Top 101 Web Sites. PC Magazine. Ziff Davis. April 6, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 21, 2005. สืบค้นเมื่อ December 16, 2005.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้