วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป (อังกฤษ: Men's European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายสำหรับทีมชาติในทวีปยุโรป จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1948 ซึ่งในช่วงแรกของการแข่งขันได้การจัดการแข่งขันแตกต่างกันไป ตั้งแต่ในปี ค.ศ. 1975 การแข่งขันได้รับการจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1948
จำนวนทีม16 (รอบสุดท้าย)
ทวีปยุโรป (ซีอีวี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ (2 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติรัสเซีย รัสเซีย (14 สมัย)

ในการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรป 30 ครั้ง มีชาติที่ชนะในการแข่งขัน 9 ชาติ ทีมชาติรัสเซีย ชนะ 14 ครั้ง (12 ครั้ง ในฐานะสหภาพโซเวียต) และทีมชาติอื่นที่ชนะการแข่งขันคือทีมชาติอิตาลี ชนะ 2 ครั้ง; ทีมชาติเช็กเกีย (ในฐานะทีมชาติเชโกสโลวาเกีย) ชนะ 3 ครั้ง; ทีมชาติเซอร์เบีย ชนะ 2 ครั้ง (1 ครั้ง ในฐานะทีมชาติยูโกสลาเวีย) และ ทีมชาติฝรั่งเศส ทีมชาติเนเธอร์แลนด์ ทีมชาติโปแลนด์ ทีมชาติโรมาเนีย และทีมชาติสเปน ชนะ 1 ครั้ง

การแข่งขันชิงแชมป์ยุโรป 2019 จัดขึ้นที่ประเทศเบลเยียม ประเทศฝรั่งเศส ประเทศเนเธอร์แลนด์ และประเทศสโลวีเนียซึ่งเป็นเจ้าภาพร่วม และการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปครั้งต่อไปจะจัดขึ้นในประเทศเช็กเกีย ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเอสโตเนีย และประเทศโปแลนด์ ในปี ค.ศ. 2021 ซึ่งเป็นเจ้าภาพร่วม

สรุปการแข่งขัน

แก้
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1948
รายละเอียด
 
อิตาลี
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
ฝรั่งเศส
 
อิตาลี
พบกันหมด  
โปรตุเกส
6
1950
รายละเอียด
 
บัลแกเรีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
ฮังการี
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
6
1951
รายละเอียด
 
ฝรั่งเศส
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
 
ฝรั่งเศส
พบกันหมด  
โรมาเนีย
10
1955
รายละเอียด
 
โรมาเนีย
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
โรมาเนีย
 
บัลแกเรีย
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
14
1958
รายละเอียด
 
เชโกสโลวาเกีย
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
โรมาเนีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
20
1963
รายละเอียด
 
โรมาเนีย
 
โรมาเนีย
พบกันหมด  
ฮังการี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
17
1967
รายละเอียด
 
ตุรกี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
20
1971
รายละเอียด
 
อิตาลี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
โรมาเนีย
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
22
1975
รายละเอียด
 
ยูโกสลาเวีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
ยูโกสลาเวีย
พบกันหมด  
โรมาเนีย
12
1977
รายละเอียด
 
ฟินแลนด์
 
สหภาพโซเวียต
3–1  
โปแลนด์
 
โรมาเนีย
3–0  
ฮังการี
12
1979
รายละเอียด
 
ฝรั่งเศส
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
ยูโกสลาเวีย
พบกันหมด  
ฝรั่งเศส
12
1981
รายละเอียด
 
บัลแกเรีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
บัลแกเรีย
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
12
1983
รายละเอียด
 
เยอรมนีตะวันออก
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
บัลแกเรีย
พบกันหมด  
อิตาลี
12
1985
รายละเอียด
 
เนเธอร์แลนด์
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
ฝรั่งเศส
พบกันหมด  
โปแลนด์
12
1987
รายละเอียด
 
เบลเยียม
 
สหภาพโซเวียต
3–1  
ฝรั่งเศส
 
กรีซ
3–2  
สวีเดน
12
1989
รายละเอียด
 
สวีเดน
 
อิตาลี
3–1  
สวีเดน
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
สหภาพโซเวียต
12
1991
รายละเอียด
 
เยอรมนี
 
สหภาพโซเวียต
3–0  
อิตาลี
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
เยอรมนี
12
1993
รายละเอียด
 
ฟินแลนด์
 
อิตาลี
3–2  
เนเธอร์แลนด์
 
รัสเซีย
3–1  
เยอรมนี
12
1995
รายละเอียด
 
กรีซ
 
อิตาลี
3–2  
เนเธอร์แลนด์
 
ยูโกสลาเวีย
3–1  
บัลแกเรีย
12
1997
รายละเอียด
 
เนเธอร์แลนด์
 
เนเธอร์แลนด์
3–1  
ยูโกสลาเวีย
 
อิตาลี
3–1  
ฝรั่งเศส
12
1999
รายละเอียด
 
ออสเตรีย
 
อิตาลี
3–1  
รัสเซีย
 
ยูโกสลาเวีย
3–0  
เช็กเกีย
8
2001
รายละเอียด
 
สาธารณรัฐเช็ก
 
ยูโกสลาเวีย
3–0  
อิตาลี
 
รัสเซีย
3–2  
เช็กเกีย
12
2003
รายละเอียด
 
เยอรมนี
 
อิตาลี
3–2  
ฝรั่งเศส
 
รัสเซีย
3–1  
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
12
2000
รายละเอียด
  /  
อิตาลี / เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
 
อิตาลี
3–2  
รัสเซีย
 
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
3–0  
สเปน
12
2007
รายละเอียด
 
รัสเซีย
 
สเปน
3–2  
รัสเซีย
 
เซอร์เบีย
3–1  
ฟินแลนด์
16
2009
รายละเอียด
 
ตุรกี
 
โปแลนด์
3–1  
ฝรั่งเศส
 
บัลแกเรีย
3–0  
รัสเซีย
16
2011
รายละเอียด
  /  
ออสเตรีย / สาธารณรัฐเช็ก
 
เซอร์เบีย
3–1  
อิตาลี
 
โปแลนด์
3–1  
รัสเซีย
16
2013
รายละเอียด
  /  
เดนมาร์ก / โปแลนด์
 
รัสเซีย
3–1  
อิตาลี
 
เซอร์เบีย
3–0  
บัลแกเรีย
16
2015
รายละเอียด
  /  
บัลแกเรีย / อิตาลี
 
ฝรั่งเศส
3–0  
สโลวีเนีย
 
อิตาลี
3–1  
บัลแกเรีย
16
2017
รายละเอียด
 
โปแลนด์
 
รัสเซีย
3–2  
เยอรมนี
 
เซอร์เบีย
3–2  
เบลเยียม
16
2019
รายละเอียด
       
เบลเยียม / ฝรั่งเศส / เนเธอร์แลนด์ / สโลวีเนีย
 
เซอร์เบีย
3–1  
สโลวีเนีย
 
โปแลนด์
3–0  
ฝรั่งเศส
24
2021[1]
รายละเอียด
       
เช็กเกีย / ฟินแลนด์ / เอสโตเนีย / โปแลนด์
 
อิตาลี
3–2  
สโลวีเนีย
 
โปแลนด์
3–0  
เซอร์เบีย
24
2023[2]
รายละเอียด
       
อิตาลี / มาซิโดเนียเหนือ / บัลแกเรีย / อิสราเอล
 
โปแลนด์
3–0  
อิตาลี
 
สโลวีเนีย
3–2  
ฝรั่งเศส
24
2026
รายละเอียด
       
บัลแกเรีย / ฟินแลนด์ / อิตาลี / โรมาเนีย
24

จำนวนครั้งที่เป็นเจ้าภาพ

แก้
จำนวน ประเทศ (ปี)
5   อิตาลี (1948, 1971, 2005*, 2015*, 2023*)
4   บัลแกเรีย (1950, 1981, 2015*, 2023*)
3   เช็กเกีย (2001, 2011*, 2021*)
  ฟินแลนด์ (1977, 1993, 2021*)
  ฝรั่งเศส (1951, 1979, 2019*)
  เนเธอร์แลนด์ (1985, 1997, 2019*)
  โปแลนด์ (2013*, 2017, 2021*)
2   ออสเตรีย (1999, 2011*)
  เบลเยียม (1987, 2019*)
  เยอรมนี (1991, 2003)
  โรมาเนีย (1955, 1963)
  ตุรกี (1967, 2009)
1   เชโกสโลวาเกีย (1958)
  เดนมาร์ก (2013*)
  เยอรมนีตะวันออก (1983)
  เอสโตเนีย (2021*)
  กรีซ (1995)
  มาซิโดเนียเหนือ (2023*)
  รัสเซีย (2007)
  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (2005*)
  สโลวีเนีย (2019*)
  สวีเดน (1989)
  ยูเครน (2023*)
  ยูโกสลาเวีย (1975)
* = เจ้าภาพร่วม

ตารางเหรียญการแข่งขัน

แก้
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  สหภาพโซเวียต120214
2  อิตาลี75315
3  เชโกสโลวาเกีย3407
4  โปแลนด์25411
5  รัสเซีย2338
6  เซอร์เบีย2035
7  ฝรั่งเศส1427
8  เนเธอร์แลนด์1225
  โรมาเนีย1225
10  ยูโกสลาเวีย
  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
1135
11  สเปน1001
12  สโลวีเนีย0314
13  บัลแกเรีย0145
14  ฮังการี0112
15  สวีเดน0101
  เยอรมนี0101
17  ยูโกสลาเวีย0022
18  กรีซ0011
รวม (18 ประเทศ)33333399

ผู้เล่นทรงคุณค่า

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Croatia complete pool of EuroVolley 2021 men host countries". cev.eu. 20 December 2019. สืบค้นเมื่อ 22 December 2019.
  2. "ME siatkarzy w 2023 roku w czterech krajach". siatka.org. 4 January 2022. สืบค้นเมื่อ 5 July 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้