รูทีเนียม (อังกฤษ: Ruthenium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 44 และสัญลักษณ์คือ Ru รูทีเนียมเป็นโลหะทรานซิชันที่หายากอยู่ในกลุ่มของแพลทินัม และพบในแร่แพลทินัม โลหะรูทีเนียมมักไม่ทำปฏิกิริยาในสภาวะปกติ
รูทีเนียม, 00Ru |
รูทีเนียม |
---|
การอ่านออกเสียง | (roo-THEE-nee-əm) |
---|
รูปลักษณ์ | สีขาวเงินมันวาว |
---|
|
Standard atomic weight Ar°(Ru) |
---|
| - 101.07±0.02
- 101.07±0.02 (abridged)[1]
|
---|
|
รูทีเนียมในตารางธาตุ |
---|
|
หมู่ | group 8 |
---|
คาบ | คาบที่ 5 |
---|
บล็อก | บล็อก-d |
---|
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Kr] 4d7 5s1 |
---|
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 15, 1 |
---|
สมบัติทางกายภาพ |
---|
วัฏภาค ณ STP | solid |
---|
จุดหลอมเหลว | 2607 K (2334 °C, 4233 °F) |
---|
จุดเดือด | 4423 K (4150 °C, 7502 °F) |
---|
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 12.45 g/cm3 |
---|
เมื่อเป็นของเหลว (ณ m.p.) | 10.65 g/cm3 |
---|
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 38.59 kJ/mol |
---|
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 619 kJ/mol |
---|
ความจุความร้อนโมลาร์ | 24.06 J/(mol·K) |
---|
ความดันไอ
P (Pa)
|
1
|
10
|
100
|
1 k
|
10 k
|
100 k
|
at T (K)
|
2588
|
2811
|
3087
|
3424
|
3845
|
4388
|
|
สมบัติเชิงอะตอม |
---|
เลขออกซิเดชัน | −4, −2, 0, +1,[2] +2, +3, +4, +5, +6, +7, +8 (ออกไซด์เป็นกรดเล็กน้อย) |
---|
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 2.2 |
---|
รัศมีอะตอม | empirical: 134 pm |
---|
รัศมีโคเวเลนต์ | 146±7 pm |
---|
เส้นสเปกตรัมของรูทีเนียม |
สมบัติอื่น |
---|
โครงสร้างผลึก | hexagonal close-packed (hcp) |
---|
การขยายตัวจากความร้อน | 6.4 µm/(m⋅K) (ณ 25 °C) |
---|
การนำความร้อน | 117 W/(m⋅K) |
---|
สภาพต้านทานไฟฟ้า | 71 nΩ⋅m (ณ 0 °C) |
---|
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก[3] |
---|
Molar magnetic susceptibility | +39×10−6 cm3/mol (298 K)[3] |
---|
มอดุลัสของยัง | 447 GPa |
---|
โมดูลัสของแรงเฉือน | 173 GPa |
---|
Bulk modulus | 220 GPa |
---|
Speed of sound thin rod | 5970 m/s (ณ 20 °C) |
---|
อัตราส่วนปัวซง | 0.30 |
---|
Mohs hardness | 6.5 |
---|
Brinell hardness | 2160 MPa |
---|
เลขทะเบียน CAS | 7440-18-8 |
---|
ประวัติศาสตร์ |
---|
การตั้งชื่อ | ตั้งชื่อตาม รูทีเนีย (Ruthenia), ชื่อละตินของ รัสเซีย ซึ่งเป็นประเทศภูมิลำเนาของผู้ค้นพบ |
---|
การค้นพบและการแยกให้บริสุทธิ์ครั้งแรก | คาร์ล แอนสท์ คลอส (1844) |
---|
ไอโซโทปของรูทีเนียม |
---|
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของรูทีเนียม |
หมวดหมู่: รูทีเนียม | แหล่งอ้างอิง |