รถไฟฟ้า สายบางปู–ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายสุวรรณภูมิ-แพรกษา-สุขุมวิท เป็นโครงการรถไฟฟ้าเพื่อเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนทางรางระหว่างรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทกับรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เข้าด้วยกันในพื้นที่ด้านตะวันออกของจังหวัดสมุทรปราการ

รถไฟฟ้า สายบางปู–ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ข้อมูลทั่วไป
สถานะโครงการ
เจ้าของสมุทรปราการ
ที่ตั้งไทย สมุทรปราการ ประเทศไทย
ปลายทาง
จำนวนสถานี15 (เบื้องต้น)
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟฟ้ายกระดับแบบรางเดี่ยว
ระบบรถไฟฟ้าโมโนเรล
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง23.39 กิโลเมตร (15 ไมล์) (not.)
แผนที่เส้นทาง

ซอยวัดลานบุญ – พระจอมเกล้า
บ้านทับช้าง – สุวรรณภูมิ
สถานีลาดกระบัง
สถานีกิ่งแก้ว 60
สถานีกิ่งแก้ว 50
สถานีจุฬารัตน์ 9
สถานีราชาเทวะ
สถานีบางนา-ตราด 1
สถานีบางนา-ตราด 2
สถานีบางพลีใหญ่
สถานีเทพารักษ์
สถานีจงศิริ
สถานีเพชรงาม
สถานีแพรกษา 14
สถานีวัดแพรกษา
สถานีพุทธรักษา
สถานีแพรกษา
ศรีนครินทร์ – สายลวด

โครงการดังกล่าวเริ่มคิดตั้งแต่ปี 2556[1] เกิดจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการมีนโยบายลงทุนโครงการรถไฟฟ้าขนาดเบา เพื่อร่นระยะการเดินทางของคนในพื้นที่ นักท่องเที่ยว รวมถึงชาวต่างชาติที่ลงจากท่าอากศยานสุวรรณภูมิ สามารถเดินทางโดยรถไฟฟ้าเข้าสู่ใจกลางกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการได้อย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันพื้นที่สมุทรปราการเริ่มเกิดวิกฤติจราจรที่ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานานขึ้น และยังช่วยสนับสนุนแผนการพัฒนาสมุทรปราการให้ก้าวไปสู่เมืองท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และธรรมชาติชายฝั่ง [2]

โครงการเริ่มต้นจากสถานีแพรกษา รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท บนถนนสุขุมวิท วิ่งไปตามแนวถนนตำหรุ-บางพลี ถนนกิ่งแก้ว แล้วไปสิ้นสุดที่ สถานีลาดกระบัง ของ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รวมระยะทางประมาณ 29.79 กิโลเมตร [3] โดยมีโครงข่ายส่วนต่อขยายอีกสามเส้นทาง ได้แก่ แพรกษา-สุขุมวิท , แพรกษา-บางปู , เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ [4][5]

พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน

แก้

แนวเส้นทาง

แก้

รายชื่อสถานีอย่างไม่เป็นทางการ [6][7]

แก้
ชื่อย่อ ชื่อสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง
บางปู - สุวรรณภูมิ
ลาดกระบัง รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ: สถานีลาดกระบัง
รถไฟฟ้าสายสีเงิน: สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
กิ่งแก้ว 60 รถไฟฟ้าสายสีเงิน: สถานีธนาซิตี้
กิ่งแก้ว 50
จุฬารัตน์ 9
ราชาเทวะ
บางนา-ตราด 1
บางนา-ตราด 2
บางพลีใหญ่
เทพารักษ์
จงศิริ
เพชรงาม
แพรกษา 14
วัดแพรกษา
พุทธรักษา
แพรกษา
แพรกษา รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายสมุทรปราการ-บางปู: สถานีแพรกษา

รูปแบบโครงการ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. มติชนสุดสัปดาห์; chokb (2022-01-26). "รถไฟฟ้าโมโนเรล โมเดลโปรเจ็กต์ชานเมือง สมุทรปราการ-ปทุมธานี/บทความพิเศษ". มติชนสุดสัปดาห์.
  2. ปากน้ำขอลุยรถไฟฟ้าลากเชื่อมส่วนต่อสีเขียว_แอร์พอร์ตลิงก์
  3. เปิดเส้นทางรถไฟฟ้าโมโนเรล[ลิงก์เสีย]
  4. "นายก ตู่ สานต่อโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลสายสุวรรณภูมิ เร่งหารือเชื่อมต่อสถานีที่สุวรรณภูมิ". nna.co.th. 2021-11-24.
  5. เอกสารศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวของอบจ สมุทรปราการ , 2558
  6. มติชนสุดสัปดาห์ (2022-01-26). "รถไฟฟ้าโมโนเรล โมเดลโปรเจ็กต์ชานเมือง สมุทรปราการ-ปทุมธานี/บทความพิเศษ". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 2023-02-10.
  7. "PropStat Exclusive: เจาะศักยภาพทำเล สุขุมวิท – แพรกษา | propholic.com propholic.com". 2016-01-26.